Page 142 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 142

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         105


               ประเมินศักยภาพทรัพยากรดินให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 นอกจากนี้การศึกษา
               การด าเนินงานครั้งนี้ได้มีการท างานแบบบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและ

               เกษตรกรในพื้นที่ ท าให้สามารถเข้าใจถึงปัญหาและแนวทางแก้ได้ ซึ่งเชื่อว่าจะสามารถน าไปปฏิบัติให้ได้ผลตาม
               วัตถุประสงค์แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 ได้

                  8.3 สรุปขั นตอนการส ารวจและจ าแนกดิน เพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน  า ตามพระราชบัญญัติ

               พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551

                     8.3.1 ขั นตอนในการส ารวจและจ าแนกดินในพื นที่ประกาศเขตส ารวจที่ดิน
                        สามารถด าเนินการได้ตามหลักการส ารวจดินแบบค่อนข้างละเอียด (semi-detailed survey) ซึ่ง

               ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่
                        1) การเตรียมข้อมูลในส านักงาน ก าหนดขอบเขตดินต้นร่างโดยใช้ภาพถ่ายออร์โธส์สี ภาพถ่ายดาวเทียม
               แผนที่ธรณีวิทยา ก าหนดหลุมเจาะดินเพื่อตรวจสอบดินตัวแทนในภาคสนาม ซึ่งในการก าหนดขอบเขตดินนั้น
               จะก าหนดในพื้นที่ทั้งหมด

                        2) การตรวจสอบดินและเก็บข้อมูลดินในภาคสนาม
                           (1) ตรวจสอบดินภาคสนามตามหลุมเจาะที่ก าหนดไว้ ตามวิธีมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินโดย
               ส ารวจดินในพื้นที่ตัวแทนทั้งหมด รวมถึงพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (slope complex: SC) ด้วย

                           (2) บันทึกข้อมูลดิน และจ าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2014 (Keys to Soil Taxonomy,
               2014) โดยจ าแนกถึงระดับชุดดิน หรือดินคล้าย ร่วมกับประเภทของดิน ได้แก่ ประเภทเนื้อดินบน และความลาดชัน
                        3) ปรับแก้แผนที่ดิน จัดท าแผนที่และรายงานการส ารวจดิน มาตราส่วน 1:25,000
                        4) ประเมินลักษณะและสมบัติของดินร่วมกับอัตราการกร่อนดิน และคัดเลือกพื้นที่ที่มีการท าการเกษตร
               ที่มีความเสี่ยงต่อการกร่อนดินสูง (มีอัตราการกร่อนดินมากกว่า 5 ตัน/ไร่/ปี) และมีแนวโน้มว่ามีความเสี่ยง

               ต่อการเกิดดินถล่มในอนาคต เป็นพื้นที่ที่ไม่ทับซ้อนกับเขตป่าหรือเขตสงวนอื่นๆ และท าประชาพิจารณ์เพื่อส ารวจ
               ความคิดเห็นของประชาชนและเกษตรกรผู้ส่วนได้ส่วนเสียในพื้น เมื่อประชาชนและเกษตรกรผู้ส่วนได้ส่วนเสีย
               ในพื้นที่มีความพร้อมและยินยอมให้กรมพัฒนาที่ดินสามารถเข้าด าเนินมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าได้ จึงได้

               คัดเลือกพื้นที่ดังกล่าวเพื่อเป็นพื้นที่ศึกษากระบวนการท างานการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ าในล าดับต่อไป

                     8.3.2 ขั นตอนในการส ารวจและจ าแนกดินในพื นที่ประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน  า
                        เมื่อได้มีคัดเลือกพื้นที่เพื่อจะประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ าตามขั้นตอนแล้ว ในการส ารวจดินสามารถ

               ด าเนินการได้ตามหลักการส ารวจดินแบบละเอียด (detailed survey) ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่
                        1) การเตรียมข้อมูลในส านักงาน ก าหนดขอบเขตดินต้นร่างโดยใช้ภาพถ่ายออร์โธส์สี ภาพถ่ายดาวเทียม
               แผนที่ธรณีวิทยา ก าหนดหลุมเจาะดินเพื่อตรวจสอบดินตัวแทนในภาคสนาม ซึ่งในการก าหนดขอบเขตดินนั้นจะ
               ก าหนดในพื้นที่ทั้งหมด

                        2) การตรวจสอบดินและเก็บข้อมูลดินในภาคสนาม
                           (1) ตรวจสอบดินภาคสนามตามหลุมเจาะที่ก าหนดไว้ ตามวิธีมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินโดย
               ส ารวจดินในพื้นที่ตัวแทนทั้งหมด รวมถึงพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (slope complex: SC) ด้วย
                           (2) บันทึกข้อมูลดิน และจ าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2014 (Keys to Soil Taxonomy,

               2014) โดยจ าแนกถึงระดับชุดดิน หรือดินคล้าย ร่วมกับประเภทของดิน ได้แก่ ประเภทเนื้อดินบน ความลาดชัน
               ชั้นความลึก และชั้นของการกร่อน
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147