Page 136 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 136

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          99


                     7.2.5 ความเหมาะสมของดินทางด้านวิศวกรรม
                        การประเมินความเหมาะสมของดินส าหรับทางด้านวิศวกรรม พื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดิน

               และน้ า ต าบลป่ากลาง อ าเภอปัว จังหวัดน่าน จ าแนกโดยใช้หลักเกณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน ตามเอกสารวิชาการ
               ฉบับที่ 380 สามารถสรุปศักยภาพของดินส าหรับทางด้านวิศวกรรม (ตารางที่ 29) ได้ดังนี้
                        1) การใช้เป็นวัสดุหน้าดิน
                           - เหมาะสมดีส าหรับการใช้เป็นวัสดุหน้าดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-mw,fl-lA/d 5,E0 และ AC-spd,

               fl-lA/d 5,E0 มีเนื้อที่ 237 ไร่ หรือร้อยละ 8.19 ของพื้นที่
                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับการใช้เป็นวัสดุหน้าดิน มีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อดิน และ
               สภาพภูมิประเทศ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ws-clB/d 4,E1 และ Ws-clC/d 3,E 1 มีเนื้อที่ 770 ไร่ หรือร้อยละ 26.74 ของพื้นที่
                           - ไม่เหมาะสมส าหรับการใช้เป็นวัสดุหน้าดิน มีข้อจ ากัดรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิประเทศ ได้แก่

               หน่วยแผนที่ Ws-clD/d3,E1 Ws-clD/d3,E2 และ Ws-clD/d3,E2 มีเนื้อที่ 1,873 ไร่ หรือร้อยละ 65.07 ของพื้นที่
                        2) การใช้เป็นแหล่งทรายและกรวด
                           - ทุกหน่วยของแผนที่ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งส าหรับการใช้เป็นแหล่งทรายและกรวด มีข้อจ ากัดรุนแรงที่
               เกี่ยวข้องกับการจ าแนกดินตามระบบ Unified

                        3) การใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง
                           - เหมาะสมดีส าหรับการใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-mw,fl-lA/d5,E0 มีเนื้อที่
               119 ไร่ หรือร้อยละ 4.13 ของพื้นที่

                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับการใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง มีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่เกี่ยวข้องกับ
               การระบายน้ าของดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-spd,fl-clA/d5,E0 มีเนื้อที่ 118 ไร่ หรือร้อยละ 4.06 ของพื้นที่
                           - ไม่เหมาะสมส าหรับการใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง มีข้อจ ากัดรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับการจ าแนกดิน
               ตามระบบ Unified ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ws-clB/d 4,E 1 Ws-clC/d 3,E 1 Ws-clD/d 3,E 1 Ws-clD/d 3,E 2 และ Ws-clE/d 3,E 2
               มีเนื้อที่ 2,643 ไร่ หรือร้อยละ 91.81 ของพื้นที่

                        4) การใช้เป็นเส้นทางแนวถนน
                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับการใช้เป็นเส้นทางแนวถนน มีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่เกี่ยวข้องกับอันตราย
               จากน้ าท่วมขัง ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-mw,fl-lA/d5,E0 มีเนื้อที่ 119 ไร่ หรือร้อยละ 4.13 ของพื้นที่

                           - ไม่เหมาะสมส าหรับการใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง มีข้อจ ากัดรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับการจ าแนกดิน
               ตามระบบ Unified และอันตรายจากน้ าท่วมขัง ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-spd,fl-clA/d 5,E 0 Ws-clB/d 4,E 1 Ws-clC/d 3,E 1
               Ws-clD/d 3,E 1 Ws-clD/d 3,E 2 และ Ws-clE/d 3,E 2 มีเนื้อที่ 2,761 ไร่ หรือร้อยละ 95.87 ของพื้นที่
                        5) การใช้เป็นบ่อขุด

                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับการใช้เป็นบ่อขุด มีข้อจ ากัดปานกลางที่เกี่ยวข้องกับความซึมน้ าของดิน
               ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-mw,fl-lA/d5,E0 และ AC-spd,fl-clA/d5,E0 มีเนื้อที่ 237 ไร่ หรือร้อยละ 8.19 ของพื้นที่
                           - ไม่เหมาะสมส าหรับการใช้เป็นบ่อขุด มีข้อจ ากัดรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับความซึมน้ าของดิน ได้แก่
               หน่วยแผนที่ Ws-clB/d4,E1 Ws-clC/d3,E1 Ws-clD/d3,E1 Ws-clD/d3,E2 และ Ws-clE/d3,E2 มีเนื้อที่ 2,643 ไร่

               หรือร้อยละ 91.81 ของพื้นที่
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141