Page 17 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            6


                     ผลส้าเร็จได๎อยํางเป็นรูปธรรม จึงได๎ปรับระบบการพัฒนาโดยจัดเป็นเขตพัฒนาที่ดินยึดกรอบของพื้นที่ลุํมน้้า
                     เพราะสามารถก้าหนดขอบเขตได๎จากสันปันน้้า สามารถประเมินหรือค้านวณปริมาณน้้าฝนที่ตกลงมาในลุํม

                     น้้ามากน๎อยในแตํละปี รวมถึงมีต้าแหนํงพื้นที่สูง ที่ราบ ซึ่งสามารถก้าหนดขอบเขตการใช๎ประโยชน์พื้นที่ได๎
                     อยํางเหมาะสมและเกิดประโยชน์ กับเกษตรกรในพื้นที่โดยตรง เชํน พื้นที่สูงหรือบริเวณใดควรรักษาเป็น
                     พื้นที่ป่าไม๎ ป่าอนุรักษ์ก็ให๎คงไว๎และพื้นที่ราบหรือลาดชันน๎อยก็จัดสรรให๎ปลูกพืช พื้นที่ลุํมควรปลูกข๎าว หรือ
                     พื้นที่ที่ไมํมีความเหมาะสมก็อาจจะเปลี่ยนเป็นแปลงหญ๎าเลี้ยงปศุสัตว์ หรือท้าการประมง เป็นต๎น

                     (หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. 2557)
                             การใช้ที่ดิน (Land  Used) หมายถึง การใช๎ที่ดินที่เป็นทรัพยากรขั้นพื้นฐานในการผลิต อาหาร
                     เครื่องนุํงหํม ยารักษาโรค ตลอดจนใช๎เป็นที่พักผํอน ที่อยูํอาศัย กักเก็บน้้า หรือใช๎ในกิจการอื่นๆ ที่มี

                     ความส้าคัญตํอชีวิตความเป็นอยูํของมวลมนุษย์ ทั้งนี้รวมถึงการใช๎ที่ดินในปัจจุบันและการใช๎ที่ดินในอนาคต
                     ด๎วย (วิโรจ, 2531)
                             ดรรชนี (2531) และสถิตย์ (2521) ได๎กลําวไว๎วํา การใช๎ที่ดิน หมายถึง การน้าที่ดินมาใช๎บ้าบัด
                     ความต๎องการของมนุษย์ในด๎านตําง ๆ เชํน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และที่อยูํอาศัย เป็นต๎น
                             ธรณีวิทยา (geology) หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับโลก อันได๎แกํ การศึกษาสํวนประกอบ เชํน

                     สํวนของเปลือกโลก โครงสร๎างของโลก ศึกษาขบวนการที่กระท้าตํอเปลือกโลก เชํน อิทธิพลของธารน้้าไหล
                     อิทธิพลของลมและน้้าทะเล และศึกษาประวัติความเป็นมาของโลก (อภิสิทธิ์, 2519)
                             ธรณีสัณฐานวิทยา (geomorphology)  หมายถึง สาขาธรณีวิทยาที่วําด๎วยพื้นผิวของโลก ซึ่ง

                     ประมวลเอาทั้งรูปรํางธรรมชาติ กระบวนการก้าเนิดและการปรับตัวของพื้นผิวโลก ตลอดจนความ
                     เปลี่ยนแปลงที่ประสบในปัจจุบัน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2519)
                             การส้ารวจดิน (soil survey)
                             ดิน (soils)  หมายถึง  อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไมํจับตัวแข็งเป็นหิน ซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลก

                     เป็นตัวกลางธรรมชาติส้าหรับการเจริญเติบโตของพืช หรือ อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไมํจับตัวแข็งเป็น
                     หินซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลก ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยด๎านการก้าเนิดและสภาพแวดล๎อม ได๎แกํ ภูมิอากาศ
                     สิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) สภาพภูมิประเทศ วัตถุต๎นก้าเนิดและระยะเวลา ความเหมาะสมตํอการผลิตพืชของ
                     ดินแตกตํางกันเนื่องมาจากลักษณะและสมบัติทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และสัณฐาน (คณะกรรมการจัดท้า

                     ปทานุกรมปฐพีวิทยา, 2541)
                             การส้ารวจดิน หมายถึง การใช๎วิธีการศึกษาทางสนาม (field     method) และข๎อสนเทศ
                     (information) จากแหลํงตํางๆ มาประมวลเข๎าด๎วยกัน เพื่อแจกแจง (identify) ให๎ค้านิยาม (define) และ
                     จ้าแนก (classify) ชนิดตํางๆ ของดินในบริเวณที่ศึกษา แบํงขอบเขตของบริเวณที่เป็นดินชนิดตํางๆ

                     ออกเป็นหนํวยดิน ซึ่งอาจจะเป็นหนํวยเดี่ยว หรือหนํวยผสมของดินหลายชนิดบนแผนที่ดิน และแปล
                     ความหมายข๎อมูลตํางๆ ที่ได๎รวบรวมจากการส้ารวจ เพื่อจุดประสงค์อันเป็นประโยชน์ (เอิบ, 2548) ส้าหรับ
                     ประเทศไทยได๎แบํงการส้ารวจและท้าแผนที่ดินออกเป็น 6 ระดับ แตํในที่นี้จะกลําวถึงเฉพาะในระดับที่

                     เกี่ยวข๎องกับโครงการนี้เพียง 3 ระดับเทํานั้น ได๎แกํ
                                1. การส้ารวจดินแบบคํอนข๎างหยาบ ( detailed reconnaissance survey ) เป็นการส้ารวจ
                     ดินเพื่อใช๎เป็นข๎อมูลในการวางแผนระดับจังหวัดหรือโครงการขนาดใหญํ เพื่อให๎ทราบถึงศักยภาพในพื้นที่ใน
                     การพัฒนาเบื้องต๎น เพื่อใช๎เป็นแนวทางในการก้าหนดพื้นที่ที่จะพัฒนา หรือเพื่อศึกษาในรายละเอียดตํอไป
                     แผนที่ที่ใช๎ในการส้ารวจดินมีมาตราสํวนระหวําง 1 : 40,000 ถึง 1 : 100,000 แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพรํ

                     มีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1 : 50,000 ถึง 1 : 100,000 ขอบเขตของดินอาศัยการแปลรูปถํายทางอากาศและ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22