Page 18 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            7


                     ภาพถํายดาวเทียม ประกอบกับการตรวจสอบดินในสนาม โดยระยะและปริมาณจุดที่ตรวจสอบดินจะ
                     มากกวําการส้ารวจดินแบบหยาบ โดยก้าหนดไว๎ประมาณ 1–2 ตารางกิโลเมตรตํอ 1 จุดตรวจสอบดิน

                     (625 – 1,250 ไรํ/ 1 จุด) หนํวยแผนที่ที่ใช๎แสดงไว๎บนแผนที่ดิน สํวนใหญํเป็นหนํวยรวม (associations)
                     อาจมีหนํวยเชิงซ๎อน (complexes) หนํวยเดี่ยว (consociations) และหนํวยศักย์เสมอ (undifferentiated
                     groups) บ๎าง โดยหนํวยจ้าแนกดินที่ใช๎เป็นหนํวยแผนที่ดินจะเป็นประเภทดิน (soil  phases)  ของชุดดิน
                     (soil series) และวงศ์ดิน (family) และหนํวยแผนที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas)

                                2. การส้ารวจดินแบบคํอนข๎างละเอียด ( semi-detailed survey ) เป็นการส้ารวจดินเพื่อใช๎
                     เป็นข๎อมูลในการวางแผนระดับอ้าเภอหรือโครงการขนาดกลางเพื่อให๎ทราบถึงศักยภาพในพื้นที่ในการ
                     พัฒนาและวางแนวทางในการปฏิบัติงาน แผนที่ที่ใช๎ในการส้ารวจดินมีมาตราสํวนระหวําง 1  : 15,000 ถึง

                     1 : 50,000 แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพรํมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1 : 25,000 ถึง 1 : 60,000 ขอบเขตของ
                     ดินอาศัยการแปลรูปถํายทางอากาศและภาพถํายดาวเทียม ประกอบกับการตรวจสอบดินในสนาม โดย
                     ระยะและปริมาณจุดที่ตรวจสอบดินจะมากกวําการส้ารวจดินแบบคํอนข๎างหยาบ โดยก้าหนดไว๎ประมาณ
                     1 ตารางกิโลเมตรตํอ 4-6 จุดตรวจสอบดิน (100 – 150 ไรํ/ 1 จุด) หนํวยแผนที่ที่ใช๎ สํวนใหญํเป็นหนํวยเดี่ยว
                     (consociations) และหนํวยเชิงซ๎อน (complexes) ของประเภทของชุดดินหรือดินคล๎าย (phases of soil

                     series  หรือ soil  variants)  และหนํวยแผนที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous  areas)  อาจมีหนํวยรวม
                     (associations) และหนํวยศักย์เสมอ(undifferentiated groups) ได๎บ๎าง
                                3. การส้ารวจดินแบบละเอียด detailed survey) หมายถึง การส้ารวจดินในระดับไรํนา หรือ

                     ในพื้นที่โครงการขนาดเล็กที่ต๎องการพัฒนาอยํางประณีต สามารถจัดท้าแผนการจัดการที่ดินที่สามารถน้าไป
                     ปฏิบัติจริงในพื้นที่ได๎ แผนที่ที่ใช๎ในการส้ารวจดินในสนามมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:5,000  ถึง 1:30,000
                     หรือมาตราสํวนใหญํกวํา แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพรํมีมาตราสํวนอยูํระหวําง 1:10,000  ถึง 1:30,000
                     หรือโตกวํา ขอบเขตของดินจะเน๎นการตรวจสอบดินในสนามให๎มากขึ้น แตํจะอาศัยรูปถํายทางอากาศและ

                     ภาพจากดาวเทียมชํวยในการเขียนขอบเขตดิน ระยะการตรวจสอบดินไมํควรหํางกันเกิน 250 เมตรตํอหนึ่ง
                     จุด (50-80 ไรํ/จุด) หนํวยแผนที่ใช๎ ได๎แกํ ประเภทของชุดดินหรือดินคล๎าย (phases of soil series or soil
                     variants) และหนํวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas) อาจมีหนํวยเชิงซ๎อนบ๎างเล็กน๎อย
                             การจ้าแนกดิน (soil  classification) หมายถึง ศาสตร์ที่วําด๎วยการแจกแจงดินชนิดตํางๆ

                     ออกเป็นหมวดหมูํในระดับตํางๆ ของความคล๎ายคลึงกันของสมบัติของดินและลักษณะการเกิดของดินตาม
                     วัตถุประสงค์ที่ต๎องการโดยใช๎ข๎อมูลจากการศึกษาดินเป็นพื้นฐาน ( เอิบ , 2548) ในโครงการนี้ใช๎ระบบ
                     อนุกรมวิธานดินของ USDA (United States Department of Agriculture) ตามรายละเอียดของหนังสือ
                     Keys to Soil Taxonomy by Soil Survey Staff, Twelfth Edition , 2014.

                             หน่วยแผนที่ดิน (soil mapping units) หมายถึง ชนิด หรือกลุํมของดินที่เขียนขอบเขต แสดงไว๎
                     ในแผนที่ดินนั้นๆ หนํวยแผนที่ดินจะมีชื่อซึ่งอาจจะเป็นชื่อทางการจ้าแนกชนิดของดินตามระบบใดระบบ
                     หนึ่ง หรืออาจจะเป็นชื่อที่ใช๎เฉพาะทางการส้ารวจที่แสดงให๎เห็นภาพพจน์ของสภาพธรรมชาติเชิงภูมิศาสตร์

                     ของบริเวณนั้นๆ ที่มีความหมายเกี่ยวข๎องกับดินพอที่จะน้ามาแปลความหมายเพื่อใช๎ประโยชน์ได๎ (เอิบ,
                     2548)  ในหนํวยแผนที่ดินหนึ่งๆ จะประกอบด๎วยชุดดินหนึ่งชนิดหรือมากกวํา ซึ่งถ๎ามีลักษณะเดํนของดิน
                     เพียงชนิดเดียว เรียกวํา หนํวยดินเดี่ยว (soil  consociation) หรือมีสมบัติดินที่เดํนหลายชนิดพอๆ กัน
                     เรียกวํา หนํวยดินสัมพัทธ์ (soil association) หนํวยดินเชิงซ๎อน (soil complex) หรือหนํวยดินศักย์เสมอ
                     (undifferentiated group) (สํวนมาตรฐานการส้ารวจจ้าแนกดินและที่ดิน, 2547)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23