Page 197 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 197

192

                  การของหนวยงานตางๆ ซึ่งควรจะมีมาตรการการประกันหรือจํานําราคาผลผลิตทางเกษตร เพื่อใหเกษตรกร

                  สามารถอยูในสังคมไดทัดเทียมกันกับอาชีพอื่นๆ
                           7.6. ควรปรับปรุงและใหความสําคัญกับสถาบันที่เกี่ยวของกับเกษตรกรใหมีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น

                  เชน กลุมเกษตรกร สหกรณการเกษตร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร องคการตลาดเพื่อ

                  เกษตรกรรม รัฐควรสนับสนุนและสงเสริมใหสถาบันเกษตรกรตางๆ เหลานี้สามารถขยายธุรกิจไดกวางขวาง
                  มากขึ้น

                                7.7. ปรับปรุงและแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชที่ดินใหเหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมาย

                  ที่เกี่ยวกับการพัฒนาที่ดิน โดยที่ดินอยูในความดูแลของทหารหรือที่ดินที่หมดสภาพเปนปาสงวนแลว แตมี

                  ศักยภาพพอที่จะใชปลูกพืชเศรษฐกิจได และมีราษฎรอาศัยอยูมาก เชน บริเวณ 2 ฝงแมน้ํา ควรเพิกถอนแลว
                  จัดใหราษฎรมีเอกสิทธิ์ในการทํากินใหถูกตองตามกฎหมาย แตในบริเวณใดที่มีดินเลว และยากในการ

                  ปรับปรุงแกไข ควรนํามาพิจารณาเพื่อใชในกิจการอื่นๆ เชน ทางดานปศุสัตวหรือพัฒนาใหเปนปาโดยการ

                  ปลูกพืชทดแทน นอกจากนี้ ควรเนนการตรากฎหมายเกี่ยวกับการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะ

                  ทางดานอนุรักษดินและน้ํา เพื่อรักษาระบบนิเวศวิทยาของลุมน้ําหลักของประเทศไทย ตลอดตนน้ํา กลางน้ํา
                  และปลายน้ํา และใหเกษตรกรสามารถใชประโยชนที่ดินไดอยางยั่งยืนอีกดวย



                  8. การบริหารและจัดการเขตพัฒนาที่ดินอยางยั่งยืน
                           เขตพัฒนาที่ดิน ที่ดําเนินการจัดทําแผนแมบทเรียบรอยแลว และไดดําเนินการหรืออยูระหวาง

                  จัดทําระบบอนุรักษและน้ํา ตามแผนงาน อนึ่ง เพื่อใหเขตพัฒนาที่ดินมีการพัฒนาอยางเปนรูปธรรม ทัน

                  เหตุการณ และสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงคการจัดทําเขตพัฒนาที่ดิน  ผูเขียนใครขอเสนอความคิดเห็น และ
                  แนวทางการบริหารจัดการเขตพัฒนาที่ดินอยางยั่งยืน  ดังนี้

                          8.1.  จัดทําแผนแมบทการดําเนินงานเขตพัฒนาที่ดินใหชัดเจน และปรับปรุงใหเหมาะสมตาม

                  สถานการณอยูเสมอ

                                 8.2. จัดทําศูนยปฏิบัติการเขตพัฒนาที่ดิน โดยจัดทําแบบจําลองเขตพัฒนาที่ดินประจําสถานีพัฒนา
                  ที่ดิน จัดทําขอมูลสารสนเทศของเขตพัฒนาที่ดิน/แผนที่เขตพัฒนาที่ดิน กําหนดระบุกิจกรรมตางๆ เปาหมาย

                  ลงในแผนที่เขตพัฒนาที่ดิน สามารถติดตามงาน หรือแสดงกิจกรรมดําเนินการของเขตพัฒนาที่ดินไดเสมอ

                          8.3. ตองประเมินผลกระทบโครงสรางระบบอนุรักษดินและน้ํา  เชน การชะลางพังทลายของดิน
                  ความชื้นของดิน และความอุดมสมบูรณของดิน เปนตน

                          8.4. การขับเคลื่อนเขตพัฒนาที่ดินอยางตอเนื่อง  สงเสริมสนับสนุนเขตพัฒนาที่ดินในลักษณะและ

                  รูปแบบตางๆ ตามความเหมาะสมของพื้นที่ เชน  ฟารมตัวอยาง เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย กําหนดเขต

                  ปลูกพืช  ศูนยวิจัยและพัฒนาการอนุรักษดินและน้ํา เขตอนุรักษดินและน้ําดีเดน/เขตพัฒนาที่ดินดีเดน  ของ
                  สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต/สถานีพัฒนาที่ดิน  ศูนย/ตลาดนัดหมอดิน เพื่อจําหนายผลผลิตของเขตพัฒนาที่ดิน

                  (LDD outlet products)
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202