Page 152 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 152

เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสงบลงในป พ.ศ.2488 เกิดการภาวะขาดแคลนอาหารและวิทยาการ
               แผนใหมทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศที่ยังดอยพัฒนา ประเทศไทยตกอยูในสภาวะดังกลาวเชนกัน ไดรับความ

               ชวยเหลือทางวิชาการและเศรษฐกิจจากองคการสหประชาชาติ โดยองคการอาหารและเกษตร
               แหงสหประชาชาติ จัดสงคณะผูเชี่ยวชาญการเกษตรมาสํารวจภาวะเกษตรของประเทศไทยในป พ.ศ.2491
               องคการฯไดทําสัญญาขอตกลงใหความชวยเหลือทางวิชาการขึ้นตั้งแตป พ.ศ.2493 เปนตนมา
                      เกี่ยวกับเรื่องดินและปุย รัฐบาลไทยกับรัฐบาลอเมริกาไดทําสัญญาตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจ

               และวิชาการ โดยองคการบริหารความมั่นคงรวมกัน (Mutual Security Agency-MSA) สงผูเชี่ยวชาญเรื่องดิน
               ในประเทศรอนจากมหาวิทยาลัย John Hopkins คือ Dr.Robert Larimore Pendleton  กับ Dr.H.H.love
               ผูเชี่ยวชาญทางคัดและผสมพันธุพืชจากมหาวิทยาลัย Cornell  มาชวยเรื่องบํารุงพันธุขาว อยูในกรมเกษตร

               และในป พ.ศ.2497 องคการบริหารวิเทศกิจแหงสหรัฐ (The U.S. Foreign Operation
               Administration - FOA) จัดสง Dr.E.V.Staker ผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะหและคนควาในดานดินและปุย
               มาชวยทําการคนควาและฝกหัดเจาหนาที่ในดานกสิกรรมเคมีของกรมกสิกรรม ทั้งสรางหองปฏิบัติการสําหรับ
               ตรวจคุณภาพดินขึ้นที่สถานีกสิกรรมบางเขนดวย
                      ในชวงป  พ.ศ.2496-97  กองการกสิกรรมเคมี  ไดเปดรับสมัครผูจบการศึกษาทางเกษตรเปนคนแรก

               คือ นายอารี  แกวงาม จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เขารับราชการเปนนักเกษตรตรี รับหนาที่ผูรวมทํางาน
               ฝายไทย (Counterpart) ของ ดร.สเตเกอร ปฏิบัติงานทดลองคนควาเรื่องปุยไมผลรวมกับกองการคนควาและ
               ทดลอง  กรมกสิกรรม  เมื่อผานการทํางานรวมกับผูเชี่ยวชาญเปนเวลาอันสมควร  ไดรับการคัดเลือกไปศึกษา

               ฝกอบรมที่มหาวิทยาลัย Florida เมือง Gainsville สหรัฐอเมริกา เปนเวลา 1 ป เมื่อป พ.ศ.2498 หลังจาก
               นั้นไดขอลาศึกษาตอจากกรมกสิกรรม สําเร็จปริญญาโท มหาวิทยาลัยฟลอริดา จึงเดินทางกลับ
                      ตอมาในป พ.ศ.2499 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาไดใหความชวยเหลือแกกระทรวงเกษตรโดยกองการ
               กสิกรรมเคมี กรมกสิกรรม กรมปาไม และกรมชลประทาน รับความชวยเหลือทางวิชาการและเศรษฐกิจ

               ผานองคการพัฒนาระหวางประเทศ (Agency for International Development -AID) ในโครงการที่เรียกวา
               การพัฒนาเกษตรกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย – Agricultural Development North
               East Thailand Projects  เปนเรื่องของงานอนุรักษดินและน้ํา ซึ่งหนวยงาน Soil Conservation  Service
               แหง U.S. Department of Agriculture เปนเจาของเรื่องในทางดานวิชาการ ผูเชี่ยวชาญ เครื่องมืออุปกรณใช

               ในการปฏิบัติงาน จัดทุนการศึกษา ฝกอบรมดูงานของเจาหนาที่ขาราชการไทยไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาและ
               ประเทศที่สามดวย ทั้งนี้ ผูเชี่ยวชาญประจําโครงการที่เขามาประจําอยูในประเทศไทยมีจํานวน 3 รุน
               ประกอบดวย  Mr.E.B.Engle  ระหวางป พ.ศ.2499-2501 ถัดมาเปน Mr.C.C.Girardot  ระหวาง
               ป พ.ศ.2502-07  และรุนสุดทายเปนหมูคณะ ประกอบดวย Mr.J.Dale Schott  เปนหัวหนาคณะที่เรียก

               Participating Agency Service Agreement - PASA Team กับ Mr.Snowden ผูชํานาญการอนุรักษดิน
               ดานวิศวกรรมเกษตร Mr.D.L.Gallup  ผูชํานาญการดานสํารวจดินทาง Soil  Interpretation  ประจํากอง
               สํารวจที่ดิน อยูเพียงปเดียว และ Mr.Oliver Rice  มาแทนในครึ่งเทอมหลัง กับมีผูชวยนักปฏิบัติงานสนาม

               อีก 3 นาย คือ Mr.C.Lowe ไปประจําอยูที่ขอนแกน Mr.Palmer ไปประจําอยูที่นครพนม Mr.C.A.Bordsen
               ไปประจําอยูที่อุบลราชธานี
                      งานอนุรักษดินและน้ําตามโครงการชวยเหลือเนนการปฏิบัติงานสนามยังไรนากสิกรโดยตรง เพราะ
               เปนหลักการปองกันการชะลางพังทลายของดิน ใชหนวยสนามเคลื่อนที่ เปนงานเบื้องตนของการอนุรักษดิน
               และน้ํา ดวยวิธีการปฏิบัติงานพรอมกับฝกสอนไปในตัว เริ่มตนจากการทําแผนที่ตางๆ โดยใชกลองสองระดับ

               และอุปกรณ ทําแผนที่ขอบเขต แผนที่ระดับ แผนที่ภูมิประเทศ เพื่อการวางแผนอนุรักษดินและน้ําในไรนา
               ตอมา เปนการนําวิธีการอนุรักษดินและน้ําใสลงสูแปลงไรนา อยางแรก 1)การปลูกพืชตามแนวระดับ - สํารวจ


                                                                                กอเกิดกรมพัฒนาที่ดิน  149
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157