Page 148 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 148

ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน
                  ดร.ฉวีวรรณ เหลืองวุฒิวิโรจน  :  เทาที่ฟงดูก็ทราบวา

                  หญาแฝกทนตอสภาพดินไดหลายสภาพเนื่องจากตอนนี้เปน
                  คณะกรรมการคัดเลือกทั้งหญาแฝกและหมอดิน ก็มักจะมี
                  คําถามเสมอวา พอปลูกตนไมใหญมากๆ แลวทําใหหญาแฝก
                  ตาย ไมทนรมเงา เมื่อหญาแฝกตายแลวเกษตรกรก็ไมได

                  ปลูกทดแทนขึ้นใหม จึงอยากจะถามวามีหญาแฝกพันธุ
                  อะไรบางที่ทนรมได   และอีกเรื่องหนึ่งคือ เวลาลงไปหลาย
                                      พื้นที่แลวถามวาปลูกหญาแฝกพันธุ

                                      อะไร เกษตรกรมักจะตอบวา พันธุ
                                      สงขลา 3  อาจจะเปนเพราะเขา
                                      ขยายพันธุเพื่อแจกจาย แลวมันโตเร็วก็เลยมีพันธุนี้เยอะมาก หากเปนอยางนี้ตอไป ก็จะ
                                      ขาดความหลากหลายของพันธุ   เราจะทําอยางไรที่จะแนะนําเกษตรกรใหปลูกพันธุ
                                      หญาแฝกที่หลากหลายไดมากกวานี้

                                             อดีตผูเชี่ยวชาญดานอนุรักษดิน
                                      และน้ํา ดร.พิทยากร ลิ่มทอง : เรื่องหญา
                                      แฝกพันธุทนรมมีอยู 2 – 3 พันธุ ที่มีการ

                                      ไปดูในพื้นที่  เชนที่หวยขาแขง สวนใหญ
                                      ก็จะเปนพันธุดอน  และที่แมแตง จังหวัด
                  เชียงใหม ก็เจริญเติบโตไดในที่รม แตก็เจริญแบบซีดๆ ไม
                  เหมือนกับอยูกลางแดด นาจะเปนพันธุดอน อีกพันธุหนึ่งก็เห็นที่

                  หวยขาแขง มีนักวิชาการที่กําลังศึกษาเรื่องนี้อยูที่หนองพลับ-
                  กลัดหลวง คือ นายดาวยศ นิลนนท นาจะไดขอมูลออกมา ดังนั้น ตัวเลขทางวิชาการนั้นสําคัญมากกวา
                  การสังเกตการณ (observe)  พันธุหญาแฝกทนรมที่ผมพูดมานี่เปนเรื่องของการสังเกตการณ ดังนั้นตองรออีก
                  สักพักหนึ่งจึงจะมีรายงานผลการวิจัยออกมา แตโดยมากจะเปนพันธุดอนที่ทนรม

                                                       อีกเรื่องคือ ความหลากหลายของพันธุหญาแฝก ผมไดคุยกับ
                                                นองๆ ที่กลุมหญาแฝกวา จุดออนตอนนี้คือเรื่องพันธุ ทําใหหมอดินไมคอย
                                                เชื่อมั่นในความถูกตองของพันธุหญาแฝกที่ไดรับแจกจาย เชน เมื่อเร็วๆ นี้
                                                ลุงเขียนที่จังหวัดเพชรบุรี ไดรับแจกหญาแฝกพันธุลุม แตปลูกไปแลวมัน

                                                เปนพันธุดอน ผมก็ไปรับมาดู DNA   ผมขอฝากนองๆวาตองมีการสํารวจ
                                                กันใหม มีการจับพิกัดตําแหนงแลวทําใหมันลึกซึ้งกวาเดิม อยางไรก็ตาม
                                                เมื่อผมไปคุยกับ กปร.  ทาง กปร. มีความเห็นวาพันธุที่เราใชอาจจะไม

                                                สําคัญเทากับการใชประโยชน  สิ่งที่อยากจะทราบจริงๆ คือ พันธุแตละ
                                                พันธุนั้นใชไดดีในสภาพแบบใด ผมบอกนองๆ ที่กลุมหญาแฝกวาตองไปทํา
                                                การบานลงลึกมากกวาปจจุบันที่มีอยู วา พันธุนั้นเหมาะกับดินอะไร เหมาะ
                                                กับที่สูงเทาใด เหมาะกับที่ลุมหรือที่ดอน เราตองหาจุดออนของเราแลว
                  ตองศึกษาลึกลงไป แลวตองเปนเชิงวิชาการ  อยานําลักษณะของการไป  Observe  แลวนําตัวเลขมาสรุป

                  ตองเปนเชิงวิชาการ   ตองมีตัวเลขยืนยันสนับสนุนใหเห็นชัดเจน  ผมก็เปนหวงเหมือนกันวาการกระจายตัวของ




                                                                                 เลาขานตํานานหญาแฝก  145
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153