Page 146 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 146

ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โครงการหญาแฝกเกิดขึ้นเมื่อป 2534  ทานก็เอาสองพันธุนี้มาแลวมา
                  ทดลองที่ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม นี่คือเหตุผลวาทําไมตนตอไปอยูที่เชียงใหม นักวิชาการดานหญาแฝก

                  ควรจะจดบันทึกเอาไวเปนความรูวาพันธุศรีลังกาไดมาจากแหลงใด นี่คือประเด็นที่มาที่ไปวาทําไม 10  พันธุ
                  ที่กรมพัฒนาที่ดินกําหนดใหเปนพันธุหลักที่ใชประโยชนในโครงการปลูกหญาแฝก จึงมีพันธุชื่อตางประเทศ
                  อยูดวย เราตองยืนยันเลยวาพันธุหญาแฝก  10  พันธุที่คัดเลือกมานั้นเปนอยางนั้นจริง ๆ คือ ไมขยายพันธุ
                  ดวยเมล็ด ไมเชนนั้นจะกลายเปนวัชพืชไป ผมขอฝากเรื่องพันธุหญาแฝก  ตอนนี้บอกไดเลยวากรมพัฒนาที่ดิน

                  มีประเด็นเรื่องพันธุหญาแฝกอยูสองประเด็น คือ
                         1. เราตรวจสอบพันธุหญาแฝกดวย DNA ได
                         2. เรารวบรวมพันธุหญาแฝกไว 3 ลักษณะ คือ ในกระถาง ในรูปเนื้อเยื่อ และในรูป DNA

                  กอนจบการบรรยาย ผมขอย้ําเรื่องฐานขอมูลวิชาการ ซึ่งรุนพี่ ๆ ไดทํางานวิจัย และงานวิชาการไวนั้น ไดทํา
                  เปน Digital File เก็บไวในระบบแลว และนําขึ้น Web เรียกใชได ผมก็เห็นวานาจะไดขึ้น Web ไว เพื่อที่รุน
                  นองๆ จะไดใชประโยชนได และควรมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง
                                                                           เรื่องหนึ่งที่เหมือนกับเปนตํานานคือ  เรากาว
                                                                 ไปถึง International Conference of  Vetiver ลาสุด

                                                                 เปนครั้งที่ 6 จัดที่เวียดนาม เกี่ยวกับเรื่องการจัดประชุม
                                                                 หญาแฝกโลก ผมขอเนนที่ชื่อธีม  International
                                                                 Conference of Vertiver ครั้งที่ 1 จัดที่จังหวัดเชียงราย

                                                                 เราใชชื่อธีมวา “Vertiver : A Miracle Grass”
                                                                 ซึ่งชื่อนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทานทรงมี
                                                                 พระราชดํารัสเอง ก็เลยนํามาใชตั้งชื่อ ครั้งที่ 2 จัดที่
                                                                 จังหวัดเพชรบุรี  มีชื่อธีม “Vertiver and  the

                                                                 Environment”  เพราะในสมัยนั้นคนเนนเรื่องนี้
                  ผมเองไดเขาไปรวมจริงจังในการจัดครั้งที่ 3 ที่กวางเจา มีชื่อธีม “Vertiver and Water” ทุกครั้งที่จัดประชุมฯ
                  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จะเสด็จฯ  ทุกครั้ง แตมันเหมือนกับวาเราจะตองชวยกันทําอยางไรก็ได
                  ใหนักวิชาการกรมพัฒนาที่ดินไดรับรางวัล King Award ตอไปทุกครั้งเทาที่เปนไปได ครั้งที่ 4  จัดที่การากัส

                  ประเทศเวเนซูเอลา มีธีมชื่อ “Vetiver Grass  and People”  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จฯ
                  เปนองคประธานการประชุมอีกเชนกัน และเริ่มมีประเด็น
                  เรื่องการใชหญาแฝกกับหัตถกรรมตั้งแตตอนนั้น และมีครั้งยอย
                  จัดที่ชิลี ลาตินอเมริกา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จฯ

                  อีกเชนกัน การจัดประชุมไมใหญเทาใด เพราะที่นั่นเพิ่งจะ
                  เริ่มทํางานเกี่ยวกับหญาแฝก ครั้งที่ 5 จัดที่ ประเทศอินเดีย
                  เนนที่สถาบันน้ําหอมและยังมีเรื่องหัตถกรรมอยู

                  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จฯ เปนองคประธาน
                  ประชุมเชนกัน International Conference of Vetiver
                  ครั้งลาสุดครั้งที่ 6  ที่ดานัง ประเทศเวียดนาม ก็มีการ
                  แสดงผลงานการใชหญาแฝกทํางานหัตถกรรมเชนกัน









                                                                                 เลาขานตํานานหญาแฝก  143
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151