Page 141 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 141

สําหรับประเด็นที่ผูเชี่ยวชาญฉวีวรรณ เหลืองวุฒิวิโรจน ถามเรื่องการที่นําหญาแฝกไปปลูกบริเวณ คันดิน
                  แลว เกิดปญหาเมล็ดพันธุปลิวไปเจริญเปนกอๆ นั้น เคยมีการถกเถียงในเรื่องนี้ในการประชุมที่ กปร.ครั้งที่ 3

                  ที่ โรงแรมแอมบาสเดอร มีทานรองอธิบดีไชยสิทธิ์ เอนกสัมพันธ เปนประธาน วันนั้นทาง กปร. เสนอขอใหกรม
                  พัฒนาที่ดินยุติการศึกษาวิจัยพันธุหญาแฝก ทางกรมพัฒนาที่ดินก็เสนอวาหากจะใหกรมพัฒนาที่ดินยุติ ทาง
                  กปร.ตองเปนผูรับผิดชอบหากมีหญาแฝกที่ปลูกไปแลวมีผลกระทบ เชน มีการกระจายพันธุ เปนวัชพืช เคยมี
                  กรณีที่ไรมันสําปะหลัง ไปปลูกเปน Demonstration Crop  มีการรองเรียนวามีพันธุหญาแฝกที่ออกดอก

                  และกระจายพันธุดวยเมล็ดมาปะปน ที่มาของปญหา นาจะเกิดจากสถานีพัฒนาที่ดินไมเพาะพันธุดวยตนเอง
                  การไปขุดแฝกมาจากตามแหลงน้ําทั่วไป   ในขั้นตอนปฏิบัติเราจึงตองแนะนําใหมีการเกี่ยวดอกเกี่ยวใบไปใช
                  ประโยชนชวยควบคุมดอกที่อาจงอกเมล็ดได


                         ตอนนั้นผมเสนอใหกรมพัฒนาที่ดินเปน Certified Organization  เนื่องจากมักจะมีความเขาใจผิดๆ
                  วากรมพัฒนาที่ดินสามารถ Predict  หรือ Identify  แยกประเภทหญาแฝกได ในขณะที่ปลายทางคือผูที่รับ
                  หญาแฝกไปปลูกไมใหความสําคัญทําใหมีการปลูกหญาแฝกปะปนกันไปหมดและเกิดปญหาดังกลาวขึ้น
                  กปร.บอกวา แผนแมบทบังคับใหใชหญาแฝกพันธุอินเดียใต อินเดียเหนือไดบางแตตอง Certified มา

                  แต กปร. ไมไดสั่งหญาแฝกพันธุอินเดียใตเขามาใหกรมพัฒนาที่ดิน  เราจึงตองไปเสาะแสวงหาเองและไปพบที่
                  เขาคอ ซึ่งเปนโครงการของพลเอกพิจิตร กุลวณิชย ผมไปกับอาจารยสวัสดิ์ เพื่อนของอาจารยจุฑา โดยผมกับ
                  คุณอาทิตยก็ขึ้นไปดู และไดหญาแฝกพันธุอินเดียใตมา  5 – 6 กอ ปลูกอยูที่เขาคอ มีผูติงวาไดขาววาเปนหญาแฝก

                  Hybrid   ผมจึงไปขอดูใบขนสงสินคา Invoice  ปรากฏวา Hybrid Seed  เปนชื่อของบริษัทที่รับจางสงสินคา
                  ไมใชชื่อชนิดของหญาแฝก จึงแนใจวาเปนหญาแฝกพันธุอินเดียใต  ผมก็ขอนําหญาแฝกพันธุอินเดียเหนือ
                  (พันธุพระราชทาน) และพันธุอินเดียใต มาทดลองปลูกที่บอถ้ํา อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กําแพงเพชร ก็เห็นวา
                  ออกดอกและมีเมล็ดมากกวาพันธุศรีลังกาเสียอีก การกระจายพันธุสูพันธุประจวบของไทยเรายังไมไดเลย

                  ซึ่งการทํางานหญาแฝกเปนเรื่องที่สําคัญที่คาดการณในขณะนั้นไมออกวาในอนาคตจะเปนอยางไร ก็ขอนําเสนอ
                  ในเบื้องตนเพียงเทานี้กอน






















                     138  องคความรูสูปดินสากล 2558
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146