Page 142 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 142

อดีตผูเชี่ยวชาญดานอนุรักษดินและน้ํา ดร.พิทยากร ลิ่มทอง :  ผมขอขอบคุณ
                                          ที่ในปนี้กรมพัฒนาที่ดิน นําเอา เรื่องหญาแฝกมาเปนประเด็นสําคัญในการจัด
                                          เสวนาองคความรูสูปดินสากลในครั้งนี้  เรื่องหญาแฝก เปนภารกิจหลักของกรม
                                          พัฒนาที่ดิน หากไปดูการจัดงบประมาณจะเห็นวาในแตละปเราไดรับงบประมาณ

                                          ดานหญาแฝกมาจํานวนหนึ่ง แลวจัดสรรไปใหสถานีพัฒนาที่ดินเปนจํานวนมาก
                                          ผมเขามารับผิดชอบเรื่องหญาแฝกอยางเปนทางการ ประมาณป 2546  โดยมี
                                          การตั้งกลุมขึ้นมาอยางเปนทางการ ผมอยูกับหญาแฝกมามากกวา 10 ป  ปแรก

                                          ผมตองหาขอมูลหญาแฝกใหไดมากที่สุด  คัมภีรหลักๆคือ พระราชดําริกับ
                                          พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว  เอกสารตองยึดจาก กปร. อยางเดียว
                  เลยเพราะเปนทางการที่สุดเนื่องจากถอดมาจากสํานักพระราชวัง แลวก็ดูวาประเด็นจุดออน จุดแข็งของ
                  กรมพัฒนาที่ดิน นํามาพิจารณาเทียบกับพระราชดําริ วาจะตองดําเนินการตออยางไร จุดแข็งที่พี่ๆ ทําไว คือ
                  รูปแบบการอนุรักษดินและการใชประโยชนหญาแฝกในการพัฒนาที่ดินนั้นเกือบจะครบถวนสมบูรณ แตสิ่งที่

                  เปนจุดออนมากๆ คือเรื่องของพันธุหญาแฝก ผมจึงทํา
                  เรื่องของบประมาณจาก กปร. มาดําเนินการเรื่องสํารวจ
                  พันธุ สิ่งที่ไดมาก็คือ พบวาหญาแฝกที่กรมพัฒนาที่ดิน

                  นิยมใชทั้งประเทศมี 3 พันธุ คือ พันธุศรีลังกา  พันธุสุ
                  ราษฎร และพันธุสงขลา 3   ซึ่งเปนแฝกพันธุลุมทั้งสิ้น
                  พันธุดอนนี่เราใชในบางพื้นที่เทานั้น  แตที่เปนจุดออนคือ
                  เราไมทราบวาหญาแฝกที่เราใชนั้นเปนพันธุที่ถูกตองตรง

                  ตามที่เรากําหนดหรือไม ในขณะนั้นผมคิดอยางเดียววา
                  วิชาการตองเปนวิชาการ ตองตรวจไดดวย DNA ผมจึงไป
                  ปรึกษาหารือกับอาจารยที่เกงดาน DNA พืช (ตามภาพที่
                  1) และเรียนอธิบดีกรมพัฒนาที่ดินวาผมจะขอสรางหอง    ภาพที่ 1 DNA ทั่วไปของสายพันธุหญาแฝก

                  DNA Laboratory  เพื่อที่จะสามารถตรวจสอบพันธุหญาแฝกในระดับ DNA  ได ตองเห็นชัดดวย Genotype
                  เราใชเวลา 2 ปทางอาจารยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจึงยืนยันวาใช Primer 3 ตัว  ก็สามารถจําแนก
                  พันธุหญาแฝกได ผมจึงคิดวาตอไปตองสรางหองแล็บ ทานอธิบดีเห็นดวย เราจึงขอตึกมาใช แลวก็ไดอาคาร
                  หญาแฝกมาใชจนทุกวันนี้

                         เราคิดวาพันธุหญาแฝก คือ จุดออน เนื่องจากพันธุหญาแฝกจะสลับกันไดงายมากในพื้นที่ ดังนั้น
                  ประเด็น คือ เราตองรวมพันธุหญาแฝกในหลายๆ ลักษณะ ตั้งเปนหองปฏิบัติการแลวรวมพันธุ ในป 2546 ถึง


                                                                                 เลาขานตํานานหญาแฝก  139
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147