Page 143 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 143

2547  ผมตองกําหนดกรอบการทํางานดานหญาแฝกและวางแผนการปฏิบัติการกรมพัฒนาที่ดิน ป 2547 ถึง
                  2549 โดยใหทานอธิบดีเห็นชอบและลงนามเพื่อกําหนดเปนกรอบการดําเนินงาน สิ่งที่เรากําหนดวาตองทําคือ

                         1. สํารวจและกําหนดพันธุทั่วประเทศ
                         2. ตรวจสอบและควบคุมพันธุ ดวย DNA เพราะการดู Phenotype นั้นยาก จําเปนตองใชผูเชี่ยวชาญ
                  ที่มีประสบการณสูง แตขณะนี้เรามีเทคโนโลยีการตรวจดวย DNA เราจึงเลือกใชเทคโนโลยีการตรวจ DNA
                                                                        3. ตองรวบรวมขอมูลวิชาการใหได รวม

                                                                 งานวิจัยเกี่ยวกับหญาแฝกเยอะมาก มีทั้งเรื่องอนุรักษ
                                                                 ดินและน้ํา การฟนฟูดิน และอื่น ๆ เอามาพิมพใหม
                                                                 ทําเปน Digital file เขาระบบเพื่อเรียกใชไดงาย

                                                                        4. เรื่องการขยายผล เรายังขยายผลการใช
                                                                 หญาแฝกไดไมดี และเห็นวาจะตองเตรียมทําขอมูล
                                                                 วิชาการ  และจัดทําเปนคูมือปฏิบัติการ  เราจึงไป
                                                                 เชิญผูรูในขณะนั้น เชน คุณนิราศ ตั้งธรรมนิยม
                  คุณรังสฤษฏ สําเภาพล ผูเชี่ยวชาญอาทิตย ศุขเกษม  มาชวยกันเขียนคูมือปฏิบัติการ ตั้งแตเรื่องการขยายพันธุไปเรื่อย

                  จนถึง เรื่องการเตรียมพื้นที่ปลูกและวิธีการปลูก เพื่อใหเจาหนาที่ที่อยูในพื้นที่ยึดถือ โดยจัดทําเปนแผนพับและซีดี
                         ในชวงป 2546 – 2547 เปนชวงเวลาที่ทํางานกันหนักมาก ตองนําระบบเขาเว็บไซด ตองจัดประชุม
                  วิชาการดานหญาแฝก ในป 2546  และอีก 2 ปตอมา คือป 2548  และป 2550 ก็จัดอีกในนามกรมพัฒนาที่ดิน

                  ในชวงวันสถาปนากรมพัฒนาที่ดิน และเวนชวงมาจนถึงป 2556 ครบรอบ 20 ปของการทําหญาแฝกพอดี
                  ตอนที่จัดประชุมวิชาการก็เชิญหนวยงานตางๆ มารวมบรรยายทั้งหมด เพราะเราก็อยากจะรูเหมือนกันวาแตละ
                  หนวยงานทําอะไรกันบาง ขณะเดียวกันเราก็เปดโอกาสใหนักวิชาการของกรมพัฒนาที่ดินไดบรรยาย
                  และนําเสนอผลงานวิชาการดวย

                         ผลการดําเนินการดานพันธุหญาแฝก ผมไปเก็บตัวอยางหญาแฝกมาจากหลายภาค สิ่งหนึ่งที่เราเห็น
                  คือ ความถี่ ที่แตละภาคใชพันธุตางๆ ตามภาพที่ 2


















                                              ภาพที่ 2 : พันธุหญาแฝกที่นิยมปลูกทั่วประเทศ

                  ความเปนจริงแลวพันธุหญาแฝกในรายงานผลการสํารวจนี้จะตรงกับพันธุหญาแฝกจริงหรือไมนั้นยังเปนสิ่งที่
                  ตองทําการตรวจสอบตอไป แตก็มีการเรียกขานกันตามนี้  เปนที่สังเกตวา ตอนนั้นเรามุงเนนพันธุลุมอยางเดียว

                  ทั้งประเทศเลย ซึ่งจําเปนตองมีการตรวจสอบตอไปวาพันธุนั้นถูกตองตรงตามพันธุหรือไม พันธุที่เราพูดถึง
                  ถูกตองหรือไม สมัยนั้นมีผูปฏิบัติงานอยู 4 คน คือ ผูเชี่ยวชาญอรุณ พงษกาญจนะ ผูเชี่ยวชาญอาทิตย ศุขเกษม
                  คุณเฉลิมพล พูนจําเนิน และ คุณอภันตรี พฤกษพงษ



                     140  องคความรูสูปดินสากล 2558
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148