Page 145 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 145

เราไมไดขยายพันธุโดยเนื้อเยื่อเพราะเราเห็นวาเทคโนโลยีที่ใชที่สถานีพัฒนาที่ดิน และสํานักงานพัฒนาที่ดิน
                  สามารถขยายพันธุหญาแฝกโดยการแตกหนอ และการเพาะชํา ดีอยูแลว เราเก็บเนื้อเยื่อไวสําหรับรักษาพันธุ

                  อยางเดียว และเราทําในกระถางดวย (ตามภาพที่ 4) รวมถึงการปลูกในแปลงเก็บไวเพื่อรักษาพันธุ
                  งบประมาณในการดําเนินการบางสวนไดมาจาก กปร. และบางสวนไดมาจากกรมพัฒนาที่ดิน สําหรับอาคาร
                  หญาแฝกยังคงใชงานดังกลาว จนบัดนี้ก็ยังคงมีกิจกรรมนั้นอยู
                         อีกเรื่องหนึ่งคือ ตอนที่ผมจะขอใหมีการตรวจสอบพันธุหญาแฝกดวย DNA  ทานอธิบดีอรรถ สมราง

                  ทานมีวิสัยทัศนในดานนี้ ตอนที่ผมเสนอใหไปรวมมือกับอาจารยที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทานก็ใหผมไป
                  เขียนโครงการมา เมื่อเริ่มดําเนินการตรวจสอบพันธุหญาแฝกดวย DNA เราไดรับเครื่องมือมาพรอมกับ
                  เทคโนโลยีการตรวจสอบ บางชวงอาจจะกระทอนกระแทนบาง แตอาจารยทานนั้นก็คงยังสนับสนุนเรามาจนถึง

                  บัดนี้ ตอนนี้นาจะเขมแข็งมากขึ้นในเรื่องการตรวจสอบ DNA ผมอยากจะใหทุกทานไดเห็นวา แถบของ DNA
                  ที่กํากับคอนขางจะชัดเจน (ตามภาพที่ 5)



























                                           ภาพที่ 5   10 พันธุหญาแฝกที่กรมพัฒนาที่ดินรับรอง

                         ตอนที่ทําการตรวจสอบ DNA   เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นเราจึงใหอาจารยทดสอบทั้งหมด 3  ครั้ง
                  สิ่งที่มีปญหามากคือเราจะนําตนพันธุที่ถูกตองที่จะนํามาเปนตนแบบมาจากที่ไหน ผมเคยคุยกับพี่วิทูร ชินพันธ
                  และไปคุยกับ ผูอํานวยการพิสิษฐ ชี้เชิญ ซึ่งตอนนั้นเปนผูอํานวยการที่ราชบุรี ทานบอกวาหญาแฝกทุกพันธุ
                  ถูกรวมไวที่สถานีพัฒนาที่ดินราชบุรี  เราก็ใชแหลงตรงนั้นในการตรวจสอบ DNA   ผมนําเรียนไวเลยวา

                  พันธุหญาแฝกที่พี่วิทูรเอยถึงและไดเก็บมา ผลงานเหลานั้นเมื่อนํามาตรวจ DNA  แลวแลวมีผลตางกันทั้งนั้น
                  ที่ผมจําไดมีอยูพันธุเดียวคือ พันธุอุดร 1  กับ พันธุอุดร 2 ที่มันซ้ํากัน  ฉะนั้นใน 28 พันธุนี่มี Band DNA
                  ตางกันหมด มันยืนยันไดเลยวาการจัดจําแนกพันธุหญาแฝก โดย Phenotype ในสมัยนั้นใชไดเลย
                         สิ่งที่เราทําตอไป คือเรื่องของพันธุตางประเทศ ซึ่งมีความสับสนของแหลงที่มามาก เพราะมีแหลงที่มา

                  ตางกันออกไป เราแบงกลุม โดยมีพันธุญี่ปุนและพันธุพระราชทาน ใหอยูกลุม Band เดียวกัน โดยไมมีตนตอ
                  สาเหตุอะไรเลย ก็หมายเหตุไววาจะตองศึกษาที่มาของการแบงกลุม
                         อีกเรื่องหนึ่งที่ผมสงสัยมาก คือใน 10 พันธุที่พี่วิทูรคัดมานี่ มีพันธุอยูพันธุหนึ่งคือพันธุศรีลังกา ที่ไมใช
                  พันธุไทย ผมไปคุยกับพี่วิทูร ไดคําตอบวามาจากโครงการที่กู World Bank   ผมไปคุยกับ ดร.ณรงค โฉมเฉลา

                  ทานบอกวาเมื่อป 2524 –  2525  ทานไปนําพันธุหญาแฝกมา 2  พันธุ คือ พันธุศรีลังกา กับพันธุอินโด
                  มาจาก 2 ประเทศนั้น ทานนํามาทดลองเรื่องน้ํามันหอมระเหย ป 2524 ในตอนนั้นยังไมมีโครงการหญาแฝก


                     142  องคความรูสูปดินสากล 2558
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150