Page 139 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 139

ในป 2536 มีแผนการพัฒนาโดยใชหญาแฝกที่

                  ไมมีเมล็ด  ในการกระจายพันธุ โดยกรมพัฒนาที่ดิน
                  รับผิดชอบขยายพันธุและเพาะหญาแฝกเพื่อสงให
                  หนวยงานตางๆ ตอนที่ไดรับมอบหมายจาก กปร. เราไม
                  มีหญาแฝกสักตน เรานึกถึงองคความรูทางพฤกษศาสตร

                  และประสบการณที่โครงการพืชอาหารสัตว มีพี่เล็ก
                  มอญเจริญ ดร.อภิชัย ธีรทร คุณอาทิตย ศุขเกษม และ
                  คุณอนุวัชร โพธินาม มาประชุมรวมกัน พี่เล็กบอกใหใช
                  หลักของ ระบบนิเวศ Environmental Science ในการ

                  จัดแบงพันธุหญาแฝก  อาจารยสิทธิลาภ วสุวัติ จึงออก
                  คําสั่ง ใหแตละสถานีพัฒนาที่ดินสงหญาแฝกมา  ไดมา
                  ทั้งหมด 52 กระถาง  สถานีละ 2 กระถาง โดยมี  ดร.วีรชัย ณ นคร มาชวยจําแนก จีนัส และ สปชี่ ไดอยาง
                  ถูกตอง โดยใชตารางการเก็บตัวอยาง ของ ดร.จเร ตามหลักของ FAO เพื่อบงชี้ Geographic Location ขอบงชี้

                  ทางภูมิศาสตรมี 27 กลุมพันธุ จาก 52 กระถาง เรียก Ecotype เรียกเปนกลุมพันธุ และมี 1 แบบที่เรียกเปน
                  สายพันธุ คือ “ศรีลังกา”  ในสมัยกอนคุณจุฑา กฤษฏามระ ทําโครงการอนุรักษดินและน้ําภาคเหนือตอจาก
                  โครงการไทย-ออสเตรเลีย  ไดรับเงินกู 500 ลานบาท จาก เวิลดแบงค      มีการนําหญาแฝกพันธุศรีลังกาที่
                  ไดมาจากผูเชี่ยวชาญชาวเยอรมันนํามาปลูกที่เชียงใหม ซึ่งสถานีพัฒนาที่ดินเชียงใหมไดนํามาขยายพันธุตอ

                         ตอมากรมพัฒนาที่ดินจึงใหสํานักงานพัฒนาที่ดิน เขต 1 – 12 ทําแปลงทดลองหญาแฝก และมีการ
                  แตงตั้งคณะทํางานวิชาการหญาแฝก กรมพัฒนาที่ดิน โดยมีคุณเล็ก  มอญเจริญ เปนหัวหนาใหญ  มีผม
                  คุณอาทิตย คุณอนุวัชร  คุณชาญชัย ชโลธร คุณพิทักษ อินทะพันธ คุณประเสริฐ เทพนรประไพ  เปนตน

                  ผมขอชมทานรองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดินในสมัยนั้น คือ ทานสิมา โมรากุล ที่ทําใหแฝกทั้งประเทศมีการจัดสงไป
                                                          ยังพื้นที่แปลงวิจัยไดภายใน 1 อาทิตย ในแปลงทดลองมี 3
                                                          Replication คัดเลือกไดหญาแฝกออกมา 10 พันธุ คือ หญา
                                                          แฝกลุม 4 พันธุ  หญาแฝกดอน  6  พันธุ ตองขยายพันธุใหได
                                                          4 ลานถุง (หญาแฝกสด) เพื่อใหสวนราชการตางๆ ตอไป

                                                          แตติดปญหาคือ การปลูกหญาแฝกสด 10  พันธุนั้นสถานี
                                                          พัฒนาที่ดินจะตองมีแปลงขยายพันธุมหาศาล จึงทําไมได จึง
                                                          ทําเปนศูนยขยายพันธุหญาแฝก 20 ศูนยทั่วประเทศ

                                                                 ในป 2536 – 2537 หญาแฝก 4 ลานถุงตองถึง
                                                          หนวยงานราชการตางๆ เพื่อปลูกเปนแมพันธุไมใช End User
                                                          เราใชเทคนิคของ DR.P K Yoon ที่ไดเพาะแฝกไวที่สถานีวิจัย
                                                          ยางที่มาเลเซีย โดยใชถุง 2X8 เซนติเมตร ผลงานเรื่องนี้ทําให

                                                          DR. P K Yoon ไดรับรางวัลจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
                                                          จึงไดเปนขอกําหนด วาแนวรั้วหญาแฝก 1 เมตร = 20 ถุง
                                                          (20 X 5 = 100 เซนติเมตร) งานนี้เปนงานที่หนักมากๆ  ทุก
                                                          คนตองทํางานแขงกับเวลา






                     136  องคความรูสูปดินสากล 2558
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144