Page 127 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 127

ผลกระทบ (ดานบวก) ของหมอดินอาสาที่มีกับกรมฯ
                         1. ภาพลักษณของกรมฯ ไดรับการยอมรับจาก

               เกษตรกร และหนวยงานภายนอกอยางกวางขวางยิ่งขึ้น
                         2. สํานักงบประมาณ ยอมรับและจัดสรรแผนงาน
               และงบประมาณให
                         3. กิจกรรมของหมอดินอาสา ไดรับการกําหนด ให

               เปนพันธกิจของกรมฯ
                         4. หมอดินอาสาดีเดนของกรมฯ ไดรับพระราชทาน
               โลรางวัลดานการพัฒนาที่ดิน ในงานพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ

                         5. กรมฯ มีเครือขายหมอดินอาสาทั่วประเทศ และมีหมอดินอาสา รวมทั้งสิ้นกวา 80,000 คน

                                                              อดีตผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 กรม
                                                     พัฒนาที่ดิน ไดใหขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนา หมอดินอาสา

                                                     ในอนาคต  โดยตั้งเปนโจทยวา “กรมฯจะใชประโยชนหมอดิน
                                                     อาสา จํานวน 10% หรือประมาณ 8,000 คน ใหเกิด
                                                     ประสิทธิภาพใน เชิงรุกไดอยางไร”เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับ
                                                     ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการอยางคราวๆ ไวดังนี้

                                                              1. ควรคัดเลือก หมอดินอาสา 10% หรือประมาณ
                                                     8,000 คน คือ คัดเลือกหมอดินอาสาที่มีความสามารถในการ
                                                     ถายทอดขอมูลทรัพยากรดินของหมูบานหรือตําบล กําหนดอายุ
               โดยพิจารณาใหอายุไมเกิน 40 ป เพื่อมาชวยแบงเบาภารกิจของกรมฯ

                         2. กําหนดกิจกรรมใหหมอดินอาสา  เชน กําหนดใหมีการเก็บตัวอยางดิน
                         3. กําหนดคาตอบแทนของแตละกิจกรรม
                         4.  ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ 7 – 14 วัน/รุน ใหเจาหนาที่ของกรมฯ (สวนกลาง และสวนภูมิภาค)
               เปนวิทยากร และมีการฝกอบรมวิทยากรระดับเขต เพื่อทําการฝกอบรมและฝกปฏิบัติอยางตอเนื่องในปตอๆไป


                      ขอซักถาม
                         คุณบรรเจิดลักษณ จินตฤทธิ์ ผูอํานวยการกลุมวิจัยและพัฒนาการจัดการดินเปรี้ยว  กองวิจัยและ

               พัฒนาการจัดการที่ดิน ไดสอบถามวา “เคยนํากิจกรรมหมอดินอาสาไปนําเสนอตอนไปตางประเทศ ซึ่งมีผูให
               ความสนใจและไดถามวาหมอดินอาสากําเนิดครั้งแรกที่ประเทศไทยหรือไม”
                         ดร.อภิชาต จงสกุล อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กลาววา “ผมคิดวา สามารถตอบไดเลยวาหมอดินอาสา
               กําเนิดครั้งแรกจากกรมพัฒนาที่ดินแนนอน ซึ่งตอนแรกไมไดหมายถึง หมอดินอาสาปจจุบันนี้  แตหมอดินใน
               ตอนนั้นคือขาราชการและเจาหนาที่ดินของกรมฯ”

















                  124  องคความรูสูปดินสากล 2558
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132