Page 96 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 96

ภาพที่ 18 การปลูกขาวในพื้นที่ดินเปรี้ยว

                        ภาพที่ 18  มี 3 ภาพ ภาพแรกเปนพื้นที่ปลูกขาวแลวตาย เพราะดินเปรี้ยวจัด น้ําเปรี้ยวจัด
               ภาพถัดมาจัดการดินไดดีขึ้น เพราะใชขอมูลจากแผนที่ชุดดิน land use  และขอมูลเขตการใชที่ดิน

               มาบริหารจัดการวาตรงไหนเปนดินเปรี้ยวบาง โดยใชหลักวิชาการแกลงดินมาพัฒนาพื้นที่นั้น ซึ่งเปนประโยชน
               อยางมาก ขอมูลชุดดิน ทําใหรูวาดินตรงไหนเปรี้ยวบางไมเปรี้ยวบาง ดินเปรี้ยวควรทําอยางไร เพราะฉะนั้น

               ชุดดินใชประโยชนกับการแกไขดินเปรี้ยวไดเปนอยางดี  จะเลาถึงประสบการณในการทํางานลงพื้นที่ ดังนี้

                      1. โครงการหนึ่ง (ไมขอระบุชื่อโครงการ)  ไมไดใชขอมูลชุดดินในการดําเนินการ โครงการดังกลาว

               ของบประมาณ พัฒนาปรับปรุงดินดวยหินปูนฝุน มาแลวไมต่ํากวา 10 ป ทั้งที่บริเวณนั้น เปนดินตะกอนน้ําจืด
               คงไมใชขอมูลชุดดิน ดินโคกเค็ม ดินบางนารา แตโครงการนี้ขอหินปูนฝุน ซึ่งทางกองแผนงานก็จัดใหทุกป
               คิดวาคงไมไดใชขอมูลชุดดินในการดําเนินงาน เมื่อผม เปน ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 12

               จึงไดยกเลิกโครงการดังกลาวไป เพราะไมเห็นประโยชนกับโครงการดังกลาว

                                                                   2. โครงการฟารมตัวอยางตามพระราชดําริ
                    ภาพที่ 19 โครงการฟารมตัวอยางตาม  จ. นราธิวาส  กรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงานหลัก ออกแบบ
                              พระราชดําริ
                                                       แทบทุกโครงการ มีโครงการหนึ่ง โครงการบานบาฆาบือซา
                                                       เปนตัวอยางของการใชประโยชนจากชุดดิน โครงการบาน
                                                       บาฆาบือซาอยูไมไกลจากศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ

                                                       จัดทําเปนฟารมตัวอยางของจังหวัดนราธิวาส แหลงน้ําที่นั้น
                                                       จริงๆ เปนดินชุดนราธิวาส ดินชุดกาบแดง ดินชุดตนไทร ซึ่งใน

                                                       การจัดทําฟารมตัวอยางถาไมมีแหลงน้ําก็ทําไมได โครงการ
               ดังกลาวกรมพัฒนาที่ดิน ดูเรื่องดิน กรมชลประทานดูเรื่อง “ขุดแหลงน้ํา” กรมชลประทานบอกวาขุดแหลงน้ํา

               ไมได ถาขุดแลวดินเปรี้ยว เพราะเปนดินชุดกาบแดง ดินชุดตนไทร จึงไมไดขุด แตกรมพัฒนาที่ดินก็บอกวา
               ถาไมมีแหลงน้ําจะพัฒนาไดอยางไรนักสํารวจดินเราจึงไปเจาะดินดู ปรากฏวาเปนชั้นที่มี acid sulfate  soil

               หนา 80 เซนติเมตร ดินทราย เรารูลักษณะ Profile  ของดิน ขุดออกใหหมด 1 - 2 เมตร แลวเอาดินไปทิ้ง
               หางๆ ซึ่งแหลงน้ําก็ยังใชอยูถึงปจจุบันนี้










                                                                                    เกิดศูนยพิกุลทอง   93
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101