Page 105 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 105

77




                             4)    พื้นที่น้ํามีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 3,062 ไร เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นามากที่สุด 1,253 ไร
                             5)    พื้นที่เบ็ดเตล็ดโดยภาพรวมมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น  4,478  ไร  โดยพบวาเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่
                  ปลูกขาวโพดมากที่สุด 3,351 ไร


                  4.2 ขอเสนอแนะ

                        4.2.1 การสํารวจสภาพการใชที่ดินโดยใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลจากการใชขอมูลภาพถายดาวเทียม
                  ทําใหการสํารวจทําไดอยางรวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ที่การคมนาคมยังไมสะดวกทําให
                  สามารถสํารวจไดครอบคลุมพื้นที่มากยิ่งขึ้นแตการใชขอมูลดาวเทียมยังมีขอจํากัดอยูบางในบางครั้งระยะ เวลา

                  การถายภาพที่ไดจะไมตรงกับฤดูกาลเพาะปลูกเนื่องมาจากขอจํากัดของระบบการถายภาพที่ไมสามารถถายภาพ
                  ผานชั้นเมฆได จึงตองใชขอมูลภาพถายดาวเทียมที่ไมตรงกับฤดูเพาะปลูกทําใหการตีความโดยใชภาพถาย
                  ดาวเทียมเพียงอยางเดียวจึงอาจทําใหเกิดความผิดพลาดไดดังนั้นจึงควรตรวจสอบความถูกตองโดยการใชแผนที่

                  การใชที่ดินในอดีต ภาพถายออรโธสี การสํารวจภาคสนาม และการสอบถามขอมูลในพื้นที่
                  จึงมีความจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                        4.2.2 ผลของการศึกษาสภาพการใชที่ดิน และการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินจังหวัดพะเยาระหวาง
                  ป พ.ศ. 2555 และ ป พ.ศ. 2558 พบประเด็นที่เปนขอเสนอแนะเปนแนวทางปฏิบัติในการจัดการพัฒนาการให

                  ถูกตองเหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดินสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อนําไปสูการใชที่ดินอยางยั่งยืนดังนี้
                             1)    ในปการผลิต  2555-2558  ผลผลิตพืชสําคัญของจังหวัดพะเยาลดลง  เชน  ขาวโพด
                  เนื่องจากเกิดความแหงแลงกระจายทั่วทั้งจังหวัด  ทําใหพื้นที่ปลูกขาวโพดลดลงอยางมาก  บางสวนเกษตรกร
                  เปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกมันสําปะหลังแทน  สวนพื้นที่ปลูกยางพาราเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย  เนื่องจากเกษตรกรตอง

                  ประสบกับราคายางตกต่ําตอเนื่องมาตลอด จึงลดแรงจูงใจในการเพิ่มพื้นที่ปลูก
                             2)  พื้นที่ที่ปาสมบูรณในจังหวัดพะเยาลดลงเล็กนอยในระยะเวลา  3  ปเนื่องจากราคา
                  ผลผลิตทางการเกษตรตกต่ํามาตลอด จึงลดแรงจูงใจใหเกษตรกรบุกรุกแผวถางปาเพื่อปลูกพืช ในระยะ
                  ยาวเมื่อราคาผลผลิตพืชกลับมาสูงขึ้น จังหวัดพะเยาอาจจะประสบปญหาการบุกรุกทําลายปา ดังนั้นหนวยงาน

                  ที่เกี่ยวของจึงควรตองเตรียมมาตรการปองกันลวงหนา
                             3)    พื้นที่ปลูกยางพาราใหมในจังหวัดพะเยาสวนใหญเปนยางพันธุ RRIM 600 ถึงแมวาจะเปน
                  พันธุยางที่ใหผลผลิตน้ํายางในปริมาณที่สูงแตเปนพันธุที่ออนแอตอโรคใบรวงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา

                  และโรคเสนดําดังนั้นการปลูกพืชในเชิงอุตสาหกรรมโดยไมคํานึงถึงความหลากหลายทางชีวภาพอาจจะสงผล
                  กระทบตอผลผลิตและรายไดของเกษตรกรไดในกรณีที่เกิดโรคระบาด
                        4.2.3 ขอเสนอแนะอื่นๆ
                             1)    ควรพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร  เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับสินคา  โดยเฉพาะ
                  สินคาที่มีศักยภาพในพื้นที่  เชน  ขาวหอมมะลิ  ยางพารา  ลําไย  ลิ้นจี่  โดยเนนการพัฒนาแบบครบวงจร

                  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐานความปลอดภัย  ลดตนทุนการผลิตแปรรูป/บรรจุภัณฑ  การวิจัยศึกษา
                  และการสรางความเขมแข็งใหกับเกษตรกรและผูประกอบการ เพื่อไปเชื่อมโยงกับตลาด
                             2)    เสริมสรางความเขมแข็งตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมการเกษตร

                  ครบวงจร เกษตรผสมผสานแทนเกษตรเชิงเดี่ยว สงเสริมเกษตรปลอดภัยสูเกษตรอินทรีย การแปรรูป การตลาดการ
                  พัฒนาสถาบันเกษตรกร รวมถึงสนับสนุนกิจกรรมเกษตรปลอดภัยและขยายพื้นที่ใหมเพื่อการผลิตสินคาเกษตร
                  สูตลาด
                             3)    สงเสริมปจจัยการผลิต  พัฒนาคุณภาพดิน  การบริหารจัดการ  น้ํา  การเพิ่มพื้นที่ชลประทาน
                  ปรับปรุงพันธุพืชพันธุสัตว  และการคมนาคม  สงเสริมผลิตภัณฑชุมชน  (OTOP)  โดยยกระดับ
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110