Page 104 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 104

73





                                                      บทที่ 4


                                               สรุปและขอเสนอแนะ


                  4.1  สรุปการวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน ป พ.ศ. 2558  และการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินระหวาง
                        ป พ.ศ. 2555 และ ป พ.ศ. 2558

                        4.1.1 สภาพการใชที่ดินจังหวัดพะเยา ป พ.ศ. 2558

                             จังหวัดพะเยามีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 3,959,412 ไรจากการดําเนินการสํารวจในป พ.ศ. 2558 พบวา

                  สภาพการใชที่ดินจําแนกตามประเภทการใชที่ดินไดดังรายละเอียดดังนี้
                             1)    พื้นที่เกษตรกรรมเปนประเภทการใชที่ดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดคือ  1,589,168  ไรหรือรอยละ
                  40.10 ของเนื้อที่จังหวัดโดยมีพื้นที่ทางการเกษตรที่สําคัญ ไดแก พื้นที่นา 745,685 ไร ขาวโพด 399,073 ไร
                  ยางพารา 135,826 ไร ลําไย 103,246 ไร และไรหมุนเวียน 49,323 ไร

                             2)    พื้นที่ปาไมมีเนื้อที่ 2,090,616 ไร หรือรอยละ 52.80 ของเนื้อที่จังหวัด โดยพื้นที่ปาผลัดใบ
                  สมบูรณมากที่สุด 1,137,959 ไร รองลงมา ไดแก ปาไมผลัดใบสมบูรณ 885,652 ไร และปาผลัดใบรอสภาพ
                  ฟนฟู 49,985 ไร และปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟู 10,944 ไร ตามลําดับ
                             3)    พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 64,685 ไร หรือรอยละ 1.65ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญเปน

                  ทุงหญาสลับไมพุม/ไมละเมาะ 42,292 ไร พื้นที่ลุม 11,839 ไร และทุงหญาธรรมชาติ 4,817 ไร ตามลําดับ
                             4)    พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง มีเนื้อที่ 145,861 ไร หรือรอยละ 3.69 ของเนื้อที่จังหวัดพื้นที่
                  สวนใหญเปนหมูบานบนพื้นราบ 91,206 ไร รองลงมา ไดแก ตัวเมืองและยานการคา 23,321 ไร และสถานที่
                  ราชการและสถาบันตาง ๆ 22,087 ไร ตามลําดับ

                             5)    พื้นที่น้ํามีเนื้อที่รวม  69,082  ไร  หรือรอยละ  1.76  ของเนื้อที่จังหวัด  สวนใหญเปนพื้นที่
                  แมน้ําลําหวยลําคลอง 20,944 ไร พื้นที่อางเก็บน้ํา 20,498 ไร พื้นที่หนองบึงทะเลสาบ 19,617 ไร และบอน้ํา
                  ในไรนา 7,375 ไร ตามลําดับ

                        4.1.2 การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินจังหวัดพะเยาระหวางป พ.ศ. 2555 และ ป พ.ศ. 2558

                             จากตารางเปรียบเทียบสภาพการใชที่ดินระหวางปพ.ศ. 2555 และ ป พ.ศ. 2558 พบวาสภาพ

                  การใชที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงทั้งในลักษณะเนื้อที่ที่เพิ่มขึ้น และลดลงที่สําคัญ คือ
                             1)    พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสรางมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 1,737 ไร โดยเกิดจากการขยายพื้นที่ของพื้นที่
                  ชุมชนและสิ่งปลูกสรางกระจายอยูในทุกอําเภอ พบมากในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอดอกคําใต และอําเภอเชียงคํา
                             2)    พื้นที่เกษตรกรรมจํานวนเนื้อที่ลดลง 10,572 ไร สวนใหญจะเปนการเปลี่ยนแปลงชนิดพืช

                  ในพื้นที่เกษตรกรรม เมื่อพิจารณาเปนรายพืชที่สําคัญ พบวาพื้นที่ปลูกขาวโพดมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด คือ
                  ลดลง 37,036 ไร โดยเปลี่ยนแปลงไปเปน พื้นที่นามากที่สุด 23,713 ไร ขณะเดียวกัน พื้นที่ปลูกขาวไร 4,732
                  ไรเปลี่ยนมาปลูกขาวโพด  ปจจัยหนึ่งที่ทําใหพื้นที่ปลูกขาวโพดลดลง  เนื่องจากภาวะแหงแลงที่ผิดปกติ  สวน
                  พื้นที่ปลูกยางพารา เพิ่มขึ้น 11,876 ไร

                             3)    พื้นที่ปาไมโดยภาพรวมพื้นที่ปาไมของจังหวัดพะเยาเพิ่มขึ้นเล็กนอย  1,295  ไร  แตเมื่อ
                  พิจารณาในรายละเอียด พบวาปาสมบูรณมีเนื้อที่ลดลง โดยเปลี่ยนไปเปนปารอสภาพฟนฟูมากที่สุด 4,036 ไร
                  รองลงมาเปลี่ยนแปลงไปเปนพื้นที่เบ็ดเตล็ด 1,480 ไร และขาวโพด 1,425 ไร เปนตน สําหรับปารอสภาพฟนฟู
                  มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 8,068 ไร โดยเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพด 7,018 ไร พื้นที่ปาสมบูรณ 4,036 ไร และ

                  พื้นที่ไรหมุนเวียน 433 ไร เปนตน
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109