Page 101 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 101

73




                  3.3   ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน

                        ปจจัยที่มีผลตอสภาพการใชที่ดิน   และการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินในจังหวัดพะเยาระหวาง
                  ป  พ.ศ.  2555  และ  ป  พ.ศ.  2558  พบวาสามารถจําแนกกลุมปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน
                  ไดเปน 2 กลุมดวยกัน ไดแก


                         3.3.1 ปจจัยทางกายภาพ
                                  1)  ทรัพยากรดิน ลักษณะดิน ถือเปนปจจัยสาคัญปจจัยหนึ่งที่ทาใหเกษตรกรตัดสินใจปลูกพืช
                  หรือ เปลี่ยนประเภทการใชที่ดินไปเปนประเภทการใชที่ดินอื่น ๆ ได จากขอมูลแผนที่กลุมชุดดินเชิงเลข

                  มาตราสวน 1:25,000 จังหวัดพะเยา พบวาสามารถแบงกลุมชุดดินออกเปน 2 กลุม ไดแก
                                   (1)  ดินบนพื้นที่ราบต่ํา ไดแก กลุมชุดดินที่ 5 6 7 15 และกลุม 18 จะมีลักษณะเปนดิน
                  ในที่ราบลุม มักมีนาขังในชวงฤดูฝน และการระบายนาไมดี ซึ่งเปนขอจากัดของดินกลุมนี้จึงมีการใชประโยชน
                  ที่ดินสวนใหญเปนนาขาวและไมมีการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินมากนัก

                                    (2)  ดินบนพื้นที่ดอน ไดแก กลุมชุดดินที่ 28 29 31 33 35 36 38 46 48 55 56 และ
                  กลุมชุดดินที่  62  พบวาประเภทการใชที่ดินในดินกลุมนี้มีหลากหลาย และมีการเปลี่ยนแปลงประเภทการใช
                  ที่ดินในป พ.ศ. 2558 คอนขางมาก กลุมชุดดินที่ 62 ซึ่งเปนพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกวา
                  รอยละ  35  การใชประโยชนที่เหมาะสม คือ สงวนหรือรักษาไวเปนปาธรรมชาติ เพื่อเปนพื้นที่ตนน้ํา ลําธาร

                  โดยเฉพาะ  ไมสมควรนามาใชในการเกษตรอยางเด็ดขาด เพราะจะเกิดผลกระทบตอสภาพแวดลอมไดงายและ
                  รุนแรง แตจากการซอนทับชั้นขอมูลกับแผนที่สภาพการใชที่ดิน จังหวัดพะเยา ป พ.ศ. 2558 พบวามีการบุกรุก
                  เขาไปถางประโยชนอยูมาก
                               2)  ทรัพยากรน้ํา  จังหวัดพะเยามีกวานพะเยาเปนแหลงน้ําที่อุดมสมบูรณสามารถกักเก็บน้ําได

                  33.84  ลานลูกบาศกเมตร รวมถึงแหลงตนน้ําตางๆ เชน หนองเล็งทราย แมน้ําอิง แมน้ํายม และโครงการ
                  ชลประทานที่สําคัญอยู 7 โครงการ ครอบคลุมทั้งจังหวัด ไดแก อางเก็บน้ําแมสุก อางเก็บน้ําหวยโซ อางเก็บน้ํา
                  หวยเหยี่ยน และอางเก็บน้ําหวยตุน ในอําเภอเมือง อางเก็บน้ําหวยไฟ ในอําเภอภูซาง อางเก็บน้ําแมปม
                  ในอําเภอแมใจ และอางเก็บน้ําหวยยัด ในอําเภอเชียงคํา ซึ่งพื้นที่ชลประทานเหลานี้เปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญ

                  ของจังหวัด ซึ่งนอกจากบริเวณนี้จะเหมาะสําหรับการทํานาแลว การชลประทานยังทําใหสามารถผลิตขาวไดดี
                  รวมทั้งยังสามารถทําการเพาะปลูกพืชหลังการทํานา เชน ถั่วเหลือง ยาสูบ หรือพืชผักไดอีกดวย
                               3)   ตําแหนงที่ตั้ง จังหวัดพะเยาอยูบริเวณสวนกลางของกลุมภาคเหนือตอนบน ๒  (เชียงราย

                  แพร นาน พะเยา)  ที่สามารถเชื่อมตอทั้งดานเสนทางและบูรณาการ ยุทธศาสตรการพัฒนาของกลุมจังหวัด
                  ภาคเหนือตอนบน ๑ สามารถรองรับการ เปลี่ยนแปลงตามกรอบความรวมมือ GMS BIMSTEC ACMECS และ

                  สนับสนุนกิจกรรมที่ เอื้อประโยชนในการคา การลงทุน และการทองเที่ยวในภาพรวมของจังหวัด
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106