Page 102 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 102

74




                         3.3.2 ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม

                             1) จํานวนประชากร ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2554 จังหวัดพะเยามีจํานวนประชากรทั้งสิ้น
                  486,472 คน มีจํานวนบาน 173,527 หลังคาเรือน และ เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2557 มีประชากร 484,454 คน
                  มีจํานวนบาน 181,374 หลังคาเรือน (กรมการปกครอง, 2558) จํานวนบานเพิ่มขึ้นจํานวน 7,847 หลังคาเรือน
                  หรือเพิ่มขึ้น รอยละ 4.52 ของ  หลังคาเรือนเดิม และจังหวัดพะเยาเปนจังหวัดที่มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งอยู

                  ในชวงกําลังพัฒนาพื้นที่ และการรับผูเขาเรียนเพิ่มขึ้นจาก  6,079  คน ในป พ.ศ. 2555 เปน 17,906  คน ในป
                  พ.ศ. 2557 โดยมีจํานวนเพิ่มขึ้น 11,827 คน หรือเพิ่มขึ้น 1.95 เทาของจํานวนเดิม  ดังนั้นทําใหมีการขยายตัวของ
                  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสรางเพิ่มขึ้นจาก 144,124 ไร ในป พ.ศ. 2555 เปน 145,861 ไร ในป พ.ศ. 2558 โดยมีเนื้อ

                  ที่เพิ่มขึ้น 1,738 ไร หรือเพิ่มขึ้น รอยละ 1.21 ของเนื้อที่เดิม นอกจากนี้ยังพบวาพื้นที่เกษตรกรรมลดลงจาก
                  1,599,740 ไร ในป พ.ศ. 2555 เปน 1,589,168 ไร ในป พ.ศ. 2558 โดยมีเนื้อที่ลดลง 10,572 ไร หรือลดลง
                  รอยละ 0.66 ของเนื้อที่เดิม และพบวาเปลี่ยนแปลงไปเปนพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสรางถึง 2,840 ไร เพื่อเพิ่มพื้นที่
                  อยูอาศัยใหเพียงพอกับประชากรที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น

                             2) นโยบายการสงเสริมของรัฐ

                                 (1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11  (พ.ศ. 2555  –  2559)  ไดกําหนด
                  ยุทธศาสตรการพัฒนาการเกษตรทั้ง 3 ดาน ไดแก ดานสังคมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร ดาน
                  เศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต การจัดการสินคาเกษตรและความมั่นคงดานอาหาร และดาน
                  สิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรการเกษตรอยาง มีประสิทธิภาพ สมดุลและยั่งยืน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

                  อีกทั้งโครงสรางของการสงออกสินคาเกษตรและผลิตภัณฑของไทยเปลี่ยนไปจาก ขาวที่เคยเปนสินคาสงออก
                  อันดับไดลดลง และยางพาราสามารถสรางรายไดแกประเทศมากขึ้น ซึ่งประเทศไทยเปนผูผลิตและผูสงออกยาง
                  แผนรมควันและน้ํายางขนรายใหญอันดับ 1 และยางแทงเปนอันดับ 2 ของโลก
                                 จังหวัดพะเยาจึงมีโครงการขยายพื้นที่ปลูกยางพารา โดยไดเรงจัดสรรจํานวนเกษตรกรและ

                  พื้นที่ในกิจกรรมสงเสริมการปลูกยางพาราใน ป พ.ศ. 2554 โดยหวังวายางพาราจะทดแทนพืชที่มีปญหาดาน
                  การตลาด จึงมีการวางแผนและพัฒนาจังหวัดโครงการพัฒนาศักยภาพการผลิต  เพื่อยกระดับมาตรฐาน
                  ยางพารา โดยการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จังหวัดพะเยา (สกย.)
                  ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน โดยมีการปลูกยางพาราเพิ่มขึ้น

                                 (2)  โครงการปลูกยางพาราในพื้นที่ปลูกยางใหม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม
                  พ.ศ. 2553 เห็นชอบและอนุมัติในหลักการโครงการปลูกยางพาราในพื้นที่เหมาะสมแหงใหม ซึ่งเสนอโดย
                  คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ โดยมีพื้นที่เปาหมาย 800,000 ไร กําหนดใหปลูกในภาค

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ 500,000 ไร ภาคเหนือ 150,000 ไร ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต อีก 150,000
                  ไร มีกําหนดระยะเวลา 3 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2553 - 2555 ตอมามีมติใหปรับระยะเวลาเหลือ 2 ป คือ ป พ.ศ.
                  2554 - 2555 โดยกําหนดพื้นที่ปลูกปละ 400,000 ไร (สถาบันวิจัยยาง,  2553) เกษตรกรจังหวัดพะเยาจึงมี
                  การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกขาวโพดเปนพื้นที่ปลูกยางพารา โดยมีเนื้อที่ปลูกยางพาราเพิ่มขึ้นจาก 123,950 ไร
                  ในป พ.ศ. 2555 เปน 135,826 ไร ในป พ.ศ. 2558 โดยมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 11,876 ไร หรือเพิ่มขึ้น รอยละ 9.58

                  ของเนื้อที่เดิม
                                     (3)  โครงการรับจํานําผลผลิตทางการเกษตร ไดรับความเห็นชอบจากมติคณะรัฐมนตรี
                  เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ใหดําเนินโครงการประกันพืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด ไดแก ขาวเปลือกนาป

                  มันสําปะหลัง และขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยเริ่มตั้งแต ปการผลิต 2552/53 และปการผลิต 2553/54 โดยมี
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107