Page 107 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 107

73






                                                            บทที่ 5


                          การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลการใชประโยชนที่ดินกับขอมูลภาคสนาม


                  5.1  วิธีการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล


                        ความคลาดเคลื่อนที่พบในขอมูลหรือผลิตภัณฑที่ไดรับจากการรับรูจากระยะไกลมีหลายสาเหตุ เริ่ม

                  ตั้งแตการรับสัญญาณของดาวเทียม (Data acquisition) กระบวนการจัดการภาพ (Image processing) การ
                  สกัดขอมูล (Information extraction) การแปลงขอมูล (Data conversion) ไปจนถึงกระบวนการจําแนกดวย
                  คอมพิวเตอร หรือการแปลขอมูลดวยสายตา (Jensen, 2005)
                        การตรวจสอบความถูกตองของชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดิน โดยเฉพาะอยางยิ่งความแมนยําของการ

                  จําแนก (Classification  accuracy)  หรือแปลตีความดวยสายตา นับไดวาเปนขั้นตอนหนึ่งที่สําคัญในการ
                  ประเมินคุณภาพขอมูลที่ไดรับมาจากภาพดาวเทียมซึ่งโดยสวนใหญแลวคาความแมนยําโดยรวม (Overall
                  accuracy) ยอมรับกันที่ระดับรอยละ 80 ขึ้นไป
                        การดําเนินงานตรวจสอบความถูกตองของขอมูลการใชประโยชนที่ดินสําหรับโครงการนี้ มีขั้นตอนพอ

                  สรุปไดดังนี้  รายละเอียดแตละขั้นตอนมีดังตอไปนี้

                        5.1.1 การกําหนดจํานวนจุดตรวจสอบ (Sample size)

                              การกําหนดจํานวนจุดตรวจสอบสําหรับโครงการนี้ Fitzpatrick-Lin  (Ongsomwang,  2007)
                  อธิบายไววา ขนาดของจํานวนตัวอยางหรือจํานวนจุดที่จะถูกใชเพื่อการตรวจสอบความแมนยําของขอมูลแผนที่
                  การใชที่ดิน สามารถคํานวณไดจากสูตรที่อาศัยทฤษฎีความนาจะเปนแบบไบโนเมียล (Binomial probability

                  theory) ตอไปนี้



                                                                       ,

                  โดยที่        เทากับ รอยละของความแมนยําที่คาดหวัง
                           เทากับ 100 −    

                           เทากับ ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได
                            เทากับ 2 ซึ่งไดมาจากความเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ 1.96 ณ ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 95
                        ดังนั้น หากกําหนดความแมนยําที่คาดหวังไวที่ 80% และความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดที่รอยละ 5

                  จะพบวาจุดตรวจสอบควรมีจํานวนเทากับ 256 จุด ซึ่งการคํานวณแทนคาดังตอไปนี้
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112