Page 108 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 108

80




                  ความแมนยําหรือความถูกตองของขอมูลแผนที่การใชที่ดินไมสามารถที่จะตรวจสอบไดจากทุกโพลีกอนหรือทุก
                  จุดวาถูกตองหรือไม ดังนั้นในการประเมินจึงตองมีการเลือกสุมจุดตรวจสอบภาคสนามมาใชอางอิง และคํานวณ
                  คาความแมนยําออกมา  ซึ่งตัวชี้วัดความแมนยําในขั้นตอนนี้คือ  ตารางความคลาดเคลื่อน  (Error  matrix)

                  ซึ่งเปนเครื่องมือที่ชวยใหแสดงการเปรียบเทียบระหวางขอมูลภาคสนามและขอมูลแผนที่การใชที่ดินได
                             ตารางความคลาดเคลื่อนเปนตารางที่แสดงจํานวนจุดที่ไดรับการจําแนกจากภาคสนาม
                  (Reference point) กับจํานวนโพลีกอนหรือพื้นที่ที่ไดรับการจําแนกจากสํานักงาน (Classified point) ดังรูป

                  เมทริกซที่สรางขึ้นสามารถใชคํานวณความแมนยําของการจําแนกประเภทขอมูลได 3 คา

                  ตัวอยาง ตารางความคลาดเคลื่อน และการคํานวณคาที่เกี่ยวของ































                              1)   ความถูกตองโดยรวม (Overall  accuracy)  คือ อัตราสวนระหวางจํานวนจุดที่จําแนกได
                  ถูกตอง (ปรากฏตามแนวทแยงของตารางหลัก) และจํานวนจุดทั้งหมดที่นํามาตรวจสอบ แลวคํานวณออกมา
                  เปนรอยละ ดวยสูตรตอไปนี้ ผลรวมของจุดตรวจสอบที่เปนจริง / จํานวนจุดตรวจสอบทั้งหมด X 100

                              2)   ความผิดพลาดของจุดที่จําแนกแลวขาดหายไป (Omission  Error  หรือ Producer’s
                  Accuracy) คืออัตราสวนระหวางจํานวนจุดที่จําแนกแลวขาดหายไปและจํานวนจุดทั้งหมดของชั้นที่ทดสอบ
                              3)   ความผิดพลาดของจุดที่จําแนกแลวเกินมา (Commission Error หรือ User’s Accuracy)
                  มักจะเกิดขึ้นเมื่อมีขอมูลอื่นปลอมปนอยู คือ อัตราสวนระหวางจํานวนจุดที่จําแนกแลวเกินมาและจํานวนจุด

                  ทั้งหมดของชั้นที่ทดสอบ
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113