Page 137 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 137

3-61





                  ตารางที่ 3-14 (ต่อ)


                  ประเภท                                                                        ผลผลิต
                                             พันธุ์                     ช่วงปลูก   ช่วงเก็บเกี่ยว   เฉลี่ย
                  การใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                                                                               (กก./ไร่)
                  เขตพื้นที่เกษตรชลประทาน

                  ข้าวนาปี                   เล็บนก, เข็มทอง              พ.ค.          ก.พ.   350- 450

                  ยางพารา                    RRIM 600                      มิ.ย.        ต.ค.   200-300

                  ปาล์มน้้ามัน               ลูกผสม                       พ.ค.          เม.ย.  3,000-4,000
                  มะพร้าว                    พื้นเมือง ,ชุมพรลูกผสม       พ.ค.         ส.ค..    500-800 ผล

                  ไม้ผลผสม                   เงาะ, ลองกอง, ทุเรียน        พ.ค.          เม.ย.   800-1,000

                                                                                              40-50 ตัว/
                  สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง      กุ้งขาว,กุ้งกุลาด้า          เม.ย.         ส.ค.
                                                                                                  กก.
                  เงาะ                       โรงเรียน,สีชมพู.เจ๊ะมง       เม.ย.         ก.ค.   700-740


                  3.2  การประเมินคุณภาพที่ดิน


                        การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพเป็นการวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยที่ดินต่อการใช้
                  ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ ในระดับการจัดการที่แตกต่างกัน วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินมีหลายวิธี

                  กลุ่มวางแผนทรัพยากรน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดินได้เลือกใช้วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินตามหลักการของ
                  FAO Framework ซึ่งมีจ้านวน 2 รูปแบบ คือ
                           1)  การประเมินทางด้านคุณภาพ เป็นการประเมินเชิงกายภาพว่าที่ดินนั้นๆ มีความเหมาะสมมาก

                  หรือน้อยเพียงใดต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ

                           2)  การประเมินทางด้านปริมาณหรือเศรษฐกิจ ซึ่งจะให้ค่าตอบแทนในรูปผลผลิตที่ได้รับ
                  จ้านวนเงินในการลงทุนและจ้านวนเงินจากผลตอบแทนที่ได้รับ

                          3.2.1  การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพ

                              การศึกษาได้ด้าเนินการประเมินคุณภาพที่ดินทางกายภาพเพียงด้านเดียวโดยศึกษา

                  การประเมินคุณภาพดินร่วมกับประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ได้ก้าหนดเป็นตัวแทนการ
                  เกษตรกรรมหลักในลุ่มน้้าสาขา รวมทั้งยังได้ประเมินคุณภาพที่ดินจากพืชที่ควรแนะน้าในลุ่มน้้าสาขา

                  ภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง การวิเคราะห์ได้ค้านึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชในแต่ละ

                  ด้านของดินที่แตกต่างกัน โดยอาศัยคุณลักษณะดินแตกต่างกันไปตามวัตถุต้นก้าเนิดของดิน ซึ่ง
                  คุณลักษณะที่ดินที่ใช้ในการแสดงค่าเพื่อวัดระดับการเจริญเติบโตแตกต่างกัน








                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142