Page 139 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 139

3-63





                                 1)  เขตพื้นที่เกษตรน้ าฝน จากการส้ารวจภาคสนามในเขตพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาภาคใต้

                  ฝั่งตะวันตกตอนล่างได้ด้าเนินการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  และได้จัดท้าการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามพืชทางเลือกที่สามารถส่งเสริมให้เพาะปลูกใน

                  ลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่างมีรายละเอียดดังนี้
                                      (1)  ความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในลุ่มน้้าสาขา

                  ภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่างประกอบด้วย นาข้าว มะพร้าว ปาล์มน้้ามัน ยางพารา มีความเหมาะสมของ

                  ที่ดินตามคุณลักษณะของที่ดินได้ดังนี้

                                         นาข้าว
                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 5 7 10  26b  26gmb

                  32b  32gmb  60b

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 6  14  23  25
                  34b 34Bb โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 42b  43b  45b

                  45Bb 53Bb โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช

                                          มะพร้าว
                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26 26B 32

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 25M 26C 34

                  34B 34C 39 39B 39C 43 60 โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช ความจุใน

                  การดูดยึดธาตุอาหาร ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร ความเสียหายจากการกัดกร่อน
                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน  5M  6M  7M

                  14M 23M 26gm   32gm 34gm 34gmB 42  50B 50C 50D  53 53B 53C โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเสียหาย

                  จากการกัดกร่อน สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช
                                          ปาล์มน้ ามัน

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26 26B 32 60

                                          -ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน  5M  6M  7M
                  14M 23M 25M 26C 26gm   32gm 34 34B 34C 34gm 34gmB 39 39B 39C โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความจุ

                  ในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร

                  ความเสียหายจากการกัดกร่อน ศักยภาพการใช้เครื่องจักร









                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144