Page 133 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 133

3-57





                                1.3) ยางพารา  เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมปลูกยางพาราสายพันธุ์ RRIM  600 ปลูก

                  ในช่วงต้นฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤษภาคม มีวิธีการปลูกแบบขุดหลุมปลูก หลุมมี

                  ขนาด 50x50x50 เซนติเมตร มีระยะระหว่างต้น 2.5 เมตร ระยะระหว่างแถว 7-8 เมตรมีปริมาณ 80-91 ต้น/ไร่

                  วิธีการดูแลรักษามีการใส่ปุ๋ยด้วยกัน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ต้นฤดูฝนประมาณพฤษภาคม – มิถุนายน ใส่ปุ๋ย
                  สูตร  16-11-14 ครั้งที่ 2  ปลายฤดูฝนประมาณเดือนตุลาคมใส่ปุ๋ยสูตร 16-11-14  มีอัตราการใช้ต้นละ

                  ประมาณ 500-600 กรัม/ไร่ ยางพาราสามารถเปิดกรีดได้ เมื่ออายุประมาณ 7 ปี เปิดหน้ายางช่วงเดือนตุลาคม

                  เป็นต้นไป นิยมใช้แรงงานคนเป็นหลักในการเก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ย 200-300 กิโลกรัม/ไร่ โดยส่วนใหญ่
                  นิยมท้าเป็นขี้ยาง

                                1.4) มะพร้าว เกษตรนิยมปลูกมะพร้าวพันธุ์พื้นเมืองและพันธุ์ชุมพรลูกผสมโดยนิยม

                  ปลูกกันในช่วงหน้าฝนขุดหลุมปลูกขนาด 50 x 50 x 50 เซนติเมตร โดยขุดดินตรงกลางหลุมขนาดเท่า

                  ผลมะพร้าว ใช้ปูนขาวหรือยากันราทาตรงรอยตัดวางหน่อลงในหลุม ให้หน่อตั้งตรงเอาหน่อ
                  มะพร้าววางลงจัดรากให้แผ่ตามธรรมชาติ  เอาดินกลบเหยียบด้านข้างให้แน่นกลบดินให้เสมอผิวของผล

                  มะพร้าว ปักหลักกันลมโยกในระยะแรกๆ ควรท้าร่มบังแดดด้วย การดูแลรักษา การให้น้้าในช่วง 1-2 ปีแรก

                  การให้น้้าแก่ต้นมะพร้าวเป็นสิ่งจ้าเป็นในฤดูแล้ง ควรรดน้้าอย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง และใช้เศษหญ้าคลุม
                  โคนมะพร้าวเพื่อรักษาความชื้น  ใส่ปุ๋ยและก้าจัดวัชพืชอย่างสม่้าเสมอ เริ่มเก็บผลผลิตในช่วงเดือน

                  สิงหาคมถึงกันยายน ผลมะพร้าวเริ่มแก่เมื่ออายุประมาณ 11-12  เดือน  เกษตรกรนิยมสอยมะพร้าว

                  ทุกๆ 45-60  วัน โดยนิยมใช้ไม้ไผ่ล้ายาวๆที่มีตะขอผูกติดปลายล้า  ใช้ตะขอเกี่ยวทะลายที่มีผลแก่
                  แล้วดึงกระตุกให้ผลหลุดลงมา แต่ถ้ามะพร้าวสูงมาก  มักใช้ลิง ในการเก็บแทน  ผลผลิตเฉลี่ย

                  500-800 ผล/ไร่/ปี


                                1.5) ไม้ผลผสม เกษตรกรนิยมปลูกไม้ผลผสมในพื้นที่เดียวกันโดยส่วนใหญ่นิยม
                  ปลูก เงาะ ลองกอง ทุเรียน โดยขุดหลุมปลูกขนาดของหลุม กว้าง-ยาว-ลึก ประมาณ 50-100 เซนติเมตร แล้วน้า
                  ต้นกล้าลงปลูกในฤดูฝน ช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน แล้วใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ในอัตรา 3 กิโลกรัม/ไร่

                  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ประมาณช่วงเมษายนเป็นต้นไป ผลผลิตเฉลี่ย 800-1,000 กิโลกรัม/ไร่

                               1.6)  สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งนิยมเลี้ยงกุ้งขาวและกุ้งกุลาด้า โดย

                  นิยมเลี้ยงทั้งแบบนากุ้งธรรมชาติที่มีการปล่อยพันธุ์กุ้งเสริมและนากุ้งแบบพัฒนาและจะต้องคัดเลือก
                  สายพันธุ์กุ้งที่มีความแข็งแรง ขนาดตัวกุ้งมีความไล่เลี่ยกัน ทั้งกุ้งขาวและกุ้งกุลาด้าสามารถเลี้ยงในน้้า

                  ความเค็มต่้าถึงขนาดจัดว่าเป็นน้้าจืดถึงน้้าที่มีความเค็มสูงและจะต้องท้าการเปลี่ยนถ่ายน้้าที่สะอาดใน

                  ปริมาณมาก อุณหภูมิที่เหมาะสมของการเลี้ยงกุ้งขาวคือ 27-30 องศาเซลเซียส กุ้งขาวกินอาหารได้
                  ทั้งพืชและสัตว์เช่นโปรตีนพวกอาหารเม็ดส้าเร็จรูป สาหร่าย แพลงตอน เป็นต้น โดยจะให้วันละ 3-4 รอบ/วัน







                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138