Page 135 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 135

3-59





                                2.3)  ปาล์มน้ ามัน เกษตรกรนิยมปลูก ปาล์มน้้ามันสายพันธุ์ ลูกผสม และพันธุ์พื้นเมือง โดย

                  ท้าการเพาะกล้า ให้ต้นกล้าที่ใช้ปลูกมีอายุที่เหมาะสมคือ 10 -12 เดือน แล้วน้ามาปลูกลงแปลงที่ท้าการ

                  เตรียมดินเรียบร้อยแล้ว ขุดหลุมปลูกให้มีขนาดขนาดของหลุม 45 x 45 x 35 มีระยะ 9 เมตร วิธีการขุดหลุมดิน

                  ชั้นบน และชั้นล่างแยกกัน และตากหลุมไว้ประมาณ 10 วัน เริ่มปลูกช่วงฤดูฝน เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน
                  การปลูกซ่อม  ควรท้าภายในระยะเวลา 1  เดือน หลังจากปลูก การใส่ปุ๋ยให้ ใส่ปุ๋ยหินฟอสเฟต (0-3-0)

                  อัตรา 250 กรัม/ต้น รองก้นหลุมตอนปลูก โดยใช้ดินชั้นบน ผสมคลุกเคล้ากับปุ๋ยหินฟอสเฟต ใส่รอง

                  ก้นหลุมแล้วกลบหลุมให้เต็มด้วยดินชั้นล่าง เมื่อปาล์มน้้ามันอายุระหว่าง 1-4 ปี ใส่ปุ๋ยภายในวงกลม
                  (รัศมี 1.5-2 เมตร) บริเวณที่ก้าจัดวัชพืชรอบโคนต้น อายุตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป ใส่ปุ๋ยห่างจากโคนต้น

                  50 เซนติเมตร จนถึงบริเวณปลายทางใบ ในอัตรา 1-4 กิโลกรัม/ไร่ ขึ้นอยู่กับช่วงอายุของปาล์มน้้ามันผลผลิต

                  เฉลี่ย 3,000 – 5,000 กิโลกรัม/ไร่
                                 2.4)  มะพร้าว เกษตรนิยมปลูกมะพร้าวพันธุ์พื้นเมืองและพันธุ์ชุมพรลูกผสม โดย

                  นิยมปลูกกันในช่วงหน้าฝนขุดหลุมปลูกขนาด 50  x  50  x  50  เซนติเมตร  โดยขุดดินตรงกลางหลุม

                  ขนาดเท่าผลมะพร้าว ใช้ปูนขาวหรือยากันราทาตรงรอยตัดวางหน่อลงในหลุม ให้หน่อตั้งตรงเอาหน่อ

                  มะพร้าววางลงจัดรากให้แผ่ตามธรรมชาติ เอาดินกลบเหยียบด้านข้างให้แน่นกลบดินให้เสมอผิวของ
                  ผลมะพร้าว ปักหลักกันลมโยกในระยะแรก ๆ ควรท้าร่มบังแดดด้วย การดูแลรักษา การให้น้้าในช่วง

                  1-2 ปีแรก การให้น้้าแก่ต้นมะพร้าวเป็นสิ่งจ้าเป็นในฤดูแล้ง ควรรดน้้าอย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง และใช้

                  เศษหญ้าคลุมโคนมะพร้าวเพื่อรักษาความชื้น ใส่ปุ๋ยและก้าจัดวัชพืชอย่างสม่้าเสมอ เริ่มเก็บผลผลิตในช่วง
                  เดือนสิงหาคมถึงกันยายน  ผลมะพร้าวเริ่มแก่เมื่ออายุประมาณ 11-12  เดือน เกษตรกรนิยมสอย

                  มะพร้าวทุกๆ 45-60 วัน โดยนิยมใช้ไม้ไผ่ล้ายาวๆ ที่มีตะขอผูกติดปลายล้า   ใช้ตะขอเกี่ยวทะลายที่มี

                  ผลแก่แล้วดึงกระตุกให้ผลหลุดลงมา แต่ถ้ามะพร้าวสูงมาก มักใช้ลิงในการเก็บแทน ผลผลิตเฉลี่ย

                  500-800 ผล/ไร่/ปี

                                2.5)  ไม้ผลผสม  เกษตรกรนิยมปลูกไม้ผลผสมในพื้นที่เดียวกันโดยส่วนใหญ่นิยมปลูก
                  เงาะ ลองกอง ทุเรียน โดยขุดหลุมปลูกขนาดของหลุม กว้าง-ยาว-ลึก ประมาณ 50-100 เซนติเมตร แล้ว

                  น้าต้นกล้าลงปลูกในฤดูฝน ช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน แล้วใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15  ในอัตรา

                   3 กิโลกรัม/ไร่ เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ประมาณช่วงเมษายนเป็นต้นไป ผลผลิตเฉลี่ย 800-1,000 กิโลกรัม/ไร่
                              2.6) สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งนิยมเลี้ยงกุ้งขาวและกุ้งกุลาด้า โดยนิยม

                  เลี้ยงทั้งแบบนากุ้งธรรมชาติที่มีการปล่อยพันธุ์กุ้งเสริมและนากุ้งแบบพัฒนาและจะต้องคัดเลือกสาย

                  พันธุ์กุ้งที่มีความแข็งแรง ขนาดตัวกุ้งมีความไล่เลี่ยกัน  ทั้งกุ้งขาวและกุ้งกุลาด้าสามารถเลี้ยงในน้้า
                  ความเค็มต่้าถึงขนาดจัดว่าเป็นน้้าจืดถึงน้้าที่มีความเค็มสูงและจะต้องท้าการเปลี่ยนถ่ายน้้าที่สะอาดใน

                  ปริมาณมาก อุณหภูมิที่เหมาะสมของการเลี้ยงกุ้งขาวคือ 27-30 องศาเซลเซียส  กุ้งขาวกินอาหารได้




                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140