Page 175 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 175

4-12





                          2.3   เขตเรงรัดพัฒนาการเกษตร (หนวยแผนที่ 23)

                                  มีพื้นที่ 103,797 ไร หรือรอยละ 11.37 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนพื้นที่ที่ใชน้ําฝนเปนหลัก

                  ในการเกษตรและพบปญหาการใชที่ดิน พื้นที่สวนใหญเปนดินตื้น รวมถึงเปนพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง
                  จึงกอใหเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน แตเนื่องจากเกษตรกรมีความจําเปนตองใชพื้นที่ดังกลาว

                  เพื่อทําการเกษตร ทั้งที่ผลการประเมินความเหมาะสมของที่ดินในเขตนี้อยูระดับเหมาะสมเล็กนอย
                  จําเปนตองปรับปรุงพื้นที่ดังกลาว ซึ่งวิธีการอาจยุงยากและมีคาใชจายสูง พื้นที่นี้สามารถแบงเขตการใชที่ดิน

                  เพื่อการผลิตได 4 เขต ดังนี้
                                   2.3.1  เขตทํานา (หนวยแผนที่ 231)

                                         มีพื้นที่ 57,473  ไร หรือรอยละ 6.29  ของพื้นที่พื้นที่ลุมน้ํา สภาพพื้นที่เปนดินตื้น

                  มีกรวดทรายปนอยูในชั้นดิน ลักษณะทางกายภาพของดินไมเหมาะสมตอการปลูกขาวเนื่องจากเปนดินตื้น
                  และการระบายน้ําดีถึงดีมาก พื้นที่สวนใหญอยูในสภาพของนาราง

                                         แนวทางการพัฒนา

                                  1.  หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่
                  รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําไดดีขึ้น

                                  2.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตรผสมผสาน

                  ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผลยืนตน รวมกัน
                                  3.  สงเสริมใหเกษตรกรใชพื้นที่ใหเหมาะสมกับศักยภาพของที่ดินโดย

                  สงเสริมชนิดพันธุที่เหมาะสมในพื้นที่ หากตองการนําพื้นที่นารางมาใชในการปลูกขาวตองปรับปรุงดิน

                  ในพื้นที่ดังกลาวกอนทํานา

                                         4.  สงเสริมใหเกษตรกรปรับปรุงคุณภาพของดินโดยเนนการปรับปรุง
                  โครงสรางดินใหดีขึ้น จึงควรสงเสริมใหเกษตรกรคลุมดิน ใหดินมีความชื้นและสามารถยอยสลาย

                  เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน

                                  5.  สงเสริมใหเกษตรกรใชสารเรง พด.1 พด.2 และ พด.12 ในการทําปุยหมัก
                  ปุยอินทรียน้ํา และเพื่อสรางธาตุอาหารที่เปนประโยชนใหกับพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณในดิน

                              2.3.2  เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 233)

                                         มีพื้นที่ 3,537 ไร หรือรอยละ 0.39 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ลักษณะของดิน

                  สวนใหญเปนดินตื้น มักพบชั้นกรวด หิน ในระดับต่ํากวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน บางบริเวณเปนพื้นที่
                  ดินทรายจัด ดินมีการระบายน้ําดีและความสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ํา เกษตรกรปลูกไมผล เชน

                  ทุเรียน มังคุด เงาะ มะมวงหิมพานต และไมผลผสม โดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก จากการประเมินคุณภาพที่ดิน









                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180