Page 170 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 170

4-7





                  ใหราษฎรมีที่อยูอาศัยและที่ทํากินแหงใหมหรือยายออกไปอยูในบริเวณที่เหมาะสม โดยรัฐจะสนับสนุน

                  ดานสาธารณูปโภค และการฝกอาชีพ โดยพื้นที่เดิมที่ราษฎรยายออกใหดําเนินการฟนฟูสภาพตอไป

                             -            กรณีราษฎรอาศัยอยูหลังวันประกาศเขตสงวนหวงหามฯ ใหกรมปาไม
                  เคลื่อนยายราษฎรออกจากปาอนุรักษไปอาศัยในพื้นที่รองรับที่จัดไว โดยมีการสนับสนุนดานสาธารณูปโภค

                  การพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งการมีสิทธิในที่ดินตามกฎหมาย หากยังไมสามารถเคลื่อนยายไดทันที
                  ใหควบคุมมิใหมีการขยายพื้นที่เพิ่มเติม โดยจะตองจัดที่อยูอาศัยและที่ทํากินใหเพียงพอตอการดํารงชีพ

                  โดยพื้นที่เดิมที่ยายราษฎรออกใหดําเนินการปลูกปาฟนฟูสภาพตอไป
                                         3.  ใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน

                  2540 เรื่อง “แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและปาไมระดับพื้นที่” เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน
                  และปาไมอยางมีระบบโดยเปนการอนุรักษควบคูกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยสงวนรักษาทรัพยากรปาไม

                  ที่เหลืออยูและฟนฟูทรัพยากรปาไมที่เสื่อมสภาพ ทั้งนี้อยูบนหลักการลดปญหาความขัดแยงการใช
                  ทรัพยากรในพื้นที่

                                         4.  หนวยงานที่เกี่ยวของควรดําเนินการควบคุมปองกันปราบปรามการบุกรุก

                  พื้นที่อยางเครงครัด
                                  5.  เรงรัดใหมีการปฏิรูปที่ดินในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่เสื่อมโทรมจนยากที่จะ

                  ปลูกปาทดแทน ทั้งนี้ควรนําขอมูลของกรมพัฒนาที่ดินดานสภาพการใชที่ดินและความเหมาะสม
                  ของที่ดินเขาไปรวมพิจารณาดวย

                                         6.  สงเสริมและรณรงคใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของ
                  ทรัพยากรปาไมและสรางความตระหนักในการมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่

                                  7.  ควรจัดทําแนวกันไฟเพื่อปองกันไฟปาที่อาจเกิดขึ้นไดจากธรรมชาติ

                  หรือกิจกรรมของมนุษย
                                  8.  สงเสริมความรูในเรื่องการปรับปรุงบํารุงดิน รวมถึงการปองกันการชะลาง

                  พังทลายของดินใหชาวบานไดเขาใจและตระหนักถึงปญหาและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
                                  9.  สงเสริมใหมีระบบอนุรักษดินและน้ําควบคูไปกับการรักษาสภาพปาไม

                  เพื่อลดปญหาการชะลางพังทลายของดิน

                      2.  เขตเกษตรกรรม

                        มีพื้นที่ 717,144 ไร หรือรอยละ 78.58  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนพื้นที่ที่อยูนอกเขตปา

                  ตามกฎหมาย นอกบริเวณที่มีมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการใชที่ดิน เกษตรกรสวนใหญในลุมน้ําสาขา

                  ปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน และไมผลชนิดตางๆ พื้นที่ดังกลาว มีความสําคัญตอวิถีชีวิตของเกษตรกรและ
                  เศรษฐกิจของประเทศ สามารถแบงตามความเหมาะสมของที่ดิน ศักยภาพของพื้นที่และแนวโนมของ

                  การพัฒนาที่ดินดานการเกษตร แบงได 5 เขต ไดแก





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175