Page 172 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 172

4-9





                                  2.1.2  เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 213)

                                  มีพื้นที่ 11,900 ไร หรือรอยละ 1.30 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา อยูในเขตชลประทาน

                  สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกปานกลางถึงดินลึก มีความเหมาะสมทางกายภาพ

                  ปานกลาง โดยมีขอจํากัดเรื่องความอุดมสมบูรณในดิน มักพบอยูบริเวณริมน้ํา สามารถสูบน้ําขึ้นมา
                  ใชในชวงฤดูแลงได

                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ควรปรับปรุงระบบการสงน้ําจากโครงการชลประทานที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพ

                  มากยิ่งขึ้น เพื่อสามารถกระจายการสงน้ําใหครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม
                                  2.  หนวยงานที่เกี่ยวของควรพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึงปรับปรุง

                  ประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําสํารองไวใชในชวงที่

                  น้ําชลประทานไมเพียงพอ
                                  3.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุยวิทยาศาสตร

                  รวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน

                                  4.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตรผสมผสาน
                  ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผล และไมยืนตนรวมกัน

                                         5.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกันปลูกพืชผักอินทรียเพื่อเพิ่มมูลคาการผลิต

                                  6.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมเพื่อพัฒนาองคความรูและสรางอํานาจ
                  ตอรองทางการเกษตร

                                   2.1.3  เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 214)

                                         มีพื้นที่ 39,096 ไร หรือรอยละ 4.28 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา อยูในเขตชลประทาน

                  ดินมีการระบายน้ําดี มีความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติคอนขางต่ําถึงต่ํา ปจจุบันนิยมปลูกยางพาราและ
                  ปาลมน้ํามันกันเปนจํานวนมาก

                                  แนวทางการพัฒนา

                                  1.  ควรปรับปรุงระบบการสงน้ําจากโครงการชลประทานที่มีอยูใหมี

                  ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อสามารถกระจายการสงน้ําใหครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม
                                  2.  หนวยงานที่เกี่ยวของควรพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึงปรับปรุง

                  ประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําสํารองไวใชในชวงที่

                  น้ําชลประทานไมเพียงพอ










                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177