Page 173 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 173

4-10





                                         3.  หนวยงานของรัฐตองเรงใหการสนับสนุนทั้งเงินลงทุน และทางวิชาการ

                  แกเกษตรกรในพื้นที่เขตนี้อยางจริงจังเพราะเปนพื้นที่ที่ทรัพยากรที่ดินมีขอจํากัดตอการเกษตรกรรม

                  คอนขางสูง แตเกษตรกรในพื้นที่มีความยากจน และไมสามารถเปลี่ยนการประกอบอาชีพเปนอยางอื่นได
                                  4.  ปรับปรุงโครงสรางของดิน โดยการใชปุยพืชสด ปุยคอก หรือปุยหมัก

                  ซึ่งจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการอุมน้ําของดิน และเพิ่มปริมาณธาตุอาหารพืช โดยมีการใชปุยวิทยาศาสตร

                  ที่เหมาะสมกับชนิดพืช ทั้งเรื่องสูตรปุย จํานวนและชวงระยะที่ใสปุยที่เหมาะสม
                                  5.  พื้นที่ลาดชันควรสงเสริมใหมีการจัดอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่


                          2.2   เขตเกษตรกาวหนา (หนวยแผนที่ 22)

                                  มีพื้นที่ 302,711 ไร หรือรอยละ 33.17 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตนี้เกษตรกรทําการเกษตร

                  โดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก ดินมีศักยภาพในการผลิตปานกลางถึงสูง พื้นที่สวนใหญทํานาครั้งเดียว หรือ
                  หากปลูกไมยืนตนก็ควรปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน เปนหลัก ปญหาหลักที่พบในเขตนี้ไดแก

                  ปญหาเรื่องปริมาณน้ําที่มากเกินไปในชวงฤดูฝนและดินมีความอุดมสมบูรณปานกลาง สามารถแบง

                  เขตการใชที่ดินเพื่อการผลิตได 3 เขต ดังนี้
                                   2.2.1  เขตทํานา (หนวยแผนที่ 221)

                                         มีพื้นที่ 34,777 ไร หรือรอยละ 3.81 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ดินมีความเหมาะสม

                  ทางกายภาพปานกลาง
                                         แนวทางการพัฒนา

                                  1.  หนวยงานที่เกี่ยวของเรื่องการจัดการน้ําควรพิจารณาแหลงน้ําขนาดเล็กใน

                  พื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหลงน้ําตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ใหสามารถกักเก็บน้ําไดดีขึ้น

                                  2.  ควรปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณ โดยใชปุย
                  วิทยาศาสตรรวมกับปุยอินทรีย ตามความเหมาะสมของคุณภาพดิน

                                  3.  สงเสริมทางเลือกในการพัฒนาที่ดินโดยใหความรูเรื่องเกษตร

                  ผสมผสานตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม โดยการขุดบอเลี้ยงปลา ยกรองปลูกผัก ไมผลยืนตน

                  รวมกัน
                                  4.  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมกันเพื่อผลักดันใหชุมชนมีโรงสีขาวเปน

                  ของกลุมและสรางอํานาจตอรองทางการตลาด

                                   2.2.2  เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 223)
                                  มีพื้นที่ 57,229 ไร หรือรอยละ 6.28 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา พืชที่ปลูกไดแก

                  ทุเรียน เงาะ สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกปานกลางถึงดินลึก มีความเหมาะสม







                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178