Page 178 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 178

4-15





                              3.  สงเสริมใหชุมชนเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของปาชุมชน

                              4.  สงเสริมกิจกรรมเพื่อการอนุรักษพื้นที่โดยไมเขาไปบุกรุกปาเพิ่มเติม เชน

                  การปองกันไฟปา การปลูกปา หรือ ปลูกฝงประเพณีบวชปาโดยมีภาคเหนือเปนตนแบบ
                        3.  เขตชุมชนและสิ่งปลูกสราง (หนวยแผนที่ 3)

                           มีพื้นที่ 84,802 ไร หรือรอยละ 9.30 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนที่ตั้งของชุมชนซึ่งมีทิศทางในการ

                  พัฒนาและขยายตัวไมมีกรอบที่เดนชัด เปนผลใหเกิดการขยายความเจริญของชุมชนเมืองในพื้นที่ที่
                  เหมาะสมตอการทําการเกษตรที่ประกอบดวย ที่อยูอาศัย/ยานการคา สถานที่ราชการและสถาบันตางๆ

                  โรงงานอุตสาหกรรม สถานที่พักผอนหยอนใจ และถนน

                        แนวทางการพัฒนา

                           1. องคการบริหารสวนตําบลในแตละพื้นที่บริเวณลุมน้ําสาขานี้ควรเรงศึกษาปญหาความตองการ
                  ของทองถิ่นและจัดลําดับความสําคัญของปญหาเพื่อกําหนดแนวทางในการพัฒนาไดอยางถูกตอง

                  ตามความตองการของชุมชนในแตละทองถิ่นนั้นๆ ในประเด็นปญหาบางเรื่องที่เกินขีดความสามารถของทองถิ่น

                  ทางองคการบริหารสวนตําบลควรทําเรื่องถึงสวนราชการที่เกี่ยวของโดยตรง เพื่อรองรับการสนับสนุน
                  ในการศึกษาปญหา แนวทางการแกไข จัดทําโครงการและงบประมาณเพื่อการดําเนินการตอไป

                           2. หนวยงานที่เกี่ยวของควรเขมงวดเรื่องการใชถนน และนํากฎหมายการใชรถใชถนนมาบังคับใช

                  อยางเขมงวดในดานการบรรทุกเกินน้ําหนัก ควรดูแลซอมแซมผิวถนนใหอยูในสภาพใชงานไดดีอยูเสมอ

                  และควรสนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุงบํารุงผิวถนน ในกรณีที่เปนถนนลูกรัง หรือถนนดินควรปรับเปลี่ยน
                  ใหเปนลาดยาง หรือ คอนกรีต เพื่อลดปญหาเรื่องฝุน ซึ่งเปนมลภาวะทางอากาศตอชุมชนชนบท

                        4.  เขตแหลงน้ํา (หนวยแผนที่ 4)

                        มีพื้นที่ 16,697 ไร หรือรอยละ 1.83 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนพื้นที่แหลงน้ําตามธรรมชาติ
                  ไดแก ลําคลอง หวย หนอง บึง และแหลงน้ําผิวดินที่สรางขึ้น

                        แนวทางการพัฒนา

                           1.  ควรเรงดําเนินการศึกษาแนวทางในการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินเพิ่มเติม แตตองคํานึงถึง
                  ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ

                           2.  ควรมีการบํารุงรักษาและขุดลอกแหลงน้ําตามธรรมชาติที่มีอยูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

                  ของการกักเก็บน้ํา

                        5.  เขตพื้นที่ชุมน้ํา (หนวยแผนที่ 5)
                        มีพื้นที่ 12,953 ไร หรือรอยละ 1.42 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนพื้นที่ที่ไดขึ้นทะเบียนตาม

                  รายชื่อพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระดับทองถิ่น ถือวาเปนพื้นที่สําคัญที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ

                  ชาวบานสามารถใชดํารงชีวิตตามวิถีชาวบาน รวมถึงเปนพื้นที่กักเก็บน้ําที่สําคัญในชวงฤดูน้ําหลาก





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183