Page 20 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 20

11





                  พิมพ์ ปกติจะใช้ 1:1,000,000 หรือเล็กกว่า และจะใช้แผนที่สภาพภูมิประเทศเป็นแผนที่พื้นฐาน ขนาดพื้นที่
                  ที่เล็กที่สุดที่เขียนขอบเขตลงบนแผนที่ ประมาณ 10,000 เฮกตาร์ หรือใหญ่กว่า

                             โดยทั่วไปในปัจจุบัน นอกจากแผนที่ดินทั่วไป ซึ่งท าขึ้นเป็นครั้งคราวแล้ว การส ารวจดินและ
                  ชนิดของแผนที่ดินที่ท ากันมากในประเทศไทย เป็นแบบค่อนข้างหยาบลงไปถึงละเอียดมาก ซึ่งใช้ประโยชน์

                  ต่างๆกัน การส ารวจดินและแผนที่ดินค่อนข้างหยาบ ซึ่งท าเป็นรายจังหวัดทั้งประเทศและขณะนี้ได้ท าการ

                  ส ารวจเสร็จสิ้นแล้ว และที่ท ากันมากที่สุดในขณะนี้คือ การส ารวจดินและแผนที่ดินค่อนข้างละเอียด ใน
                  บริเวณที่คาดว่าจะมีศักยภาพในการใช้เข้มข้นต่อไปและในโครงการที่ต้องการจะประเมินศักยภาพของที่ดิน

                  ประกอบการพัฒนาในด้านต่างๆ เช่น เขื่อน การชลประทาน และการระบายน้ า เป็นต้น ส าหรับการส ารวจ

                  ขั้นละเอียดกว่า 2 ระดับที่กล่าวมา ใช้ในโครงการที่เกี่ยวข้องกับการใช้ที่ดินทางการเกษตรเป็นส่วนใหญ่
                  (เอิบ, 2548) โดยในโครงการเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองกระทือใช้การส ารวจดินและแผนที่ดินเพียง

                  3 ระดับ คือ การส ารวจดินและแผนที่ดินค่อนข้างหยาบ การส ารวจดินและแผนที่ดินค่อนข้างละเอียด และ
                  การส ารวจดินและแผนที่ดินละเอียด

                             แผนที่ดิน (Soil Maps) หมายถึง แผนที่ที่แสดงการกระจาย (distribution) ทางภูมิศาสตร์ ของดิน
                  ชนิดต่างๆ ซึ่งมีสมบัติที่เกี่ยวข้องกันและเป็นลักษณะตามธรรมชาติของดินที่พบในการส ารวจ (เอิบ, 2548)

                             หน่วยแผนที่ดิน (Soil  Mapping  Units) หมายถึง ชนิด หรือกลุ่มของดินที่เขียนขอบเขต

                  แสดงไว้ในแผนที่ดินนั้นๆ หน่วยแผนที่ดินจะมีชื่อซึ่งอาจจะเป็นชื่อทางการจ าแนกชนิดของดินตามระบบใด
                  ระบบหนึ่ง หรืออาจจะเป็นชื่อที่ใช้เฉพาะทางการส ารวจที่แสดงให้เห็นภาพพจน์ของสภาพธรรมชาติเชิง

                  ภูมิศาสตร์ของบริเวณนั้นๆ ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับดินพอที่จะน ามาแปลความหมายเพื่อใช้ประโยชน์ได้

                  (เอิบ, 2548) โดยหน่วยแผนที่ดินที่น ามาใช้ ได้แก่
                                1) กลุ่มชุดดิน (Group  of  Soil  Series)  เป็นหน่วยของแผนที่ดินที่กรมพัฒนาที่ดิน

                  พัฒนาขึ้นมาโดยการรวมชุดดินที่มีลักษณะ สมบัติ และศักยภาพในการเพาะปลูก รวมถึงการจัดการดินที่
                  คล้ายคลึงกัน มาไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เพื่อประโยชน์ในการให้ค าแนะน า การตรวจสอบลักษณะดิน การใช้

                  ที่ดิน และการจัดการดินที่เหมาะสมให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจ จากชุดดินกว่า 300 ชุดดิน ได้จัดจ าแนก
                  ใหม่เป็น 62 กลุ่มชุดดิน โดยแบ่งตามสภาพที่พบเป็น 4 กลุ่มใหญ่ดังนี้

                                   - กลุ่มชุดดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ าขัง พบทุกภาค ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1-25 และกลุ่ม

                  ชุดดินที่ 57-59
                                   - กลุ่มชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตแห้งแล้ง พบในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาค

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 28 29 30 31 33 35 36 37 38 40 41 44 46 47 48 49 52 54

                  55 56 60 และ 61
                                   - กลุ่มชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินชื้น พบในภาคใต้และพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาค

                  ตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 26 27 32 34 39 42 43 45 50 51 และ 53
                                   - กลุ่มชุดดินที่มีความลาดชันสูง พื้นที่ภูเขาและเทือกเขา ที่มีความลาดชันมากกว่า 35

                  เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25