Page 17 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 17

8





                             การส ารวจดิน (Soil Survey) หมายถึง การใช้วิธีการศึกษาทางสนาม (field method) และ
                  ข้อสนเทศ (information) จากแหล่งต่างๆ มาประมวลเข้าด้วยกัน เพื่อแจกแจง (identify) ให้ค านิยาม

                  (define) และจ าแนก (classify) ชนิดต่างๆ ของดินในบริเวณที่ศึกษา แบ่งขอบเขตของบริเวณที่เป็นดินชนิด
                  ต่างๆ ออกเป็นหน่วยดิน ซึ่งอาจจะเป็นหน่วยเดี่ยว หรือหน่วยผสมของดินหลายชนิดบนแผนที่ดิน และแปล

                  ความหมายข้อมูลต่างๆ ที่ได้รวบรวมจากการส ารวจ เพื่อจุดประสงค์อันเป็นประโยชน์ การส ารวจและท า

                  แผนที่ดินแบ่งออกเป็น 7 ระดับ ดังนี้ (เอิบ, 2548)
                                1)  การส ารวจดินและแผนที่ดินละเอียดมากพิเศษ (Special  Very  Detailed  Soil

                  Surveys and Soil Maps) การส ารวจดินแบบนี้เป็นการส ารวจดินที่ให้ข้อสนเทศทางดินอย่างละเอียดมาก

                  ใช้เพื่อจุดประสงค์ที่จะประเมินลักษณะของดินที่ต้องการใช้อย่างเข้มข้นมาก ในบริเวณเล็กๆ เช่น ในแปลง
                  ทดลองการเกษตร หรือในโครงการทางวิศวกรรมที่ละเอียด มาตราส่วนของแผนที่พื้นฐานในการส ารวจและ

                  แผนที่พิมพ์ต้องใหญ่กว่า 1:5,000  ขนาดพื้นที่ขั้นต่ า (ขนาดขั้นต่ าของขอบเขตหน่วยแผนที่ดิน ไม่ว่าจะใน
                                                     2
                  แผนที่ดินมาตราส่วนใดใช้ประมาณ 1 ซม  (Dent  and  Changprai,  1973)  ที่จะลงขอบเขตบนแผนที่
                  เท่ากับ 0.3 เฮกตาร์ หรือเล็กกว่า
                                   หน่วยแผนที่ดิน ใช้ประเภทของชนิดดิน (phase of soil types) ชุดดิน และดินคล้าย

                  (soil variants) ที่ก าหนดพิสัยความแตกต่างของประเภทดินอย่างแคบ

                                2) การส ารวจดินและแผนที่ดินละเอียดมาก (Very Detailed Soil Surveys and Soil
                  Maps) การส ารวจดินแบบนี้ เป็นการส ารวจดินที่ให้ข้อสนเทศทางดินอย่างละเอียดมาก โดยมีจุดประสงค์ที่
                  จะประเมินลักษณะต่างๆของชนิดดินที่จะต้องการใช้อย่างเข้มข้น หรือเพื่อการศึกษาด้านอื่นๆอย่างละเอียด
                  เช่น ใช้ในการวางแผนการทดลองในแปลงทางด้านการเกษตร หรือใช้ในการวางแผนการจัดการฟาร์มอย่าง

                  ละเอียด และในการพิจารณาความเหมาะสมของวิธีเตรียมที่ดินเพื่อการปลูกพืช เป็นต้น มาตราส่วนของ
                  แผนที่ทั้งแผนที่พื้นฐานที่ใช้ส ารวจ หรือแผนที่พิมพ์อยู่ในพิสัย 1:5,000 ถึง 1:10,000 และ ขนาดพื้นที่ขั้นต่ า
                  ที่จะลงขอบเขตบนแผนที่ มีพิสัยระหว่าง 0.5 ถึง 1 เฮกตาร์ (3 ถึง 6.25 ไร่)

                                   หน่วยแผนที่ดิน ใช้ประเภทของชนิดดิน ชุดดิน และดินคล้าย อาจรวมหน่วยดิน
                  เชิงซ้อนของหน่วยต่างๆ เหล่านี้อยู่ด้วยได้ การก าหนดพิสัยความแตกต่างประเภทดินของแผนที่ และการ
                  ส ารวจแบบนี้จะกว้างขึ้นกว่าแบบละเอียดมากพิเศษ
                                   แผนที่พื้นฐานที่ใช้ในการส ารวจดินภาคสนาม แบบละเอียดมากทั้งสองอย่างนี้จะต้อง
                  เป็นแผนที่มาตราส่วนใหญ่ (เช่น 1:2,000  ถึง 1:10,000) ที่มีความแน่นอน มีรายละเอียดมาก เพื่อการ

                  ก าหนดต าแหน่งต่างๆในสนามอย่างถูกต้อง ปกติจะใช้แผนที่สภาพภูมิประเทศมาตราส่วนใหญ่ ระวางใหม่
                  สุดที่มีความแน่นอนหรือแผนที่ระดับ (Contour  Map)  ที่ท าขึ้นใหม่ และภาพถ่ายทางอากาศที่ได้ท าการ
                  ขยายหรือถ่ายใหม่ตามมาตราส่วนที่ต้องการ โดยเป็นแผนที่พื้นฐานออกส ารวจ และใช้แผนที่สภาพภูมิ

                  ประเทศหรือแผนที่ระดับเป็นแผนที่พื้นฐานประกอบในการส ารวจและในการพิมพ์ (เอิบ, 2548)
                                3) การส ารวจดินและแผนที่ดินละเอียด (Detailed Soil Surveys and Soil Maps) การ
                  ส ารวจแบบนี้เป็นการส ารวจดินที่ให้ข้อสนเทศทางดินอย่างละเอียดในระดับพิสัยความหนาแน่นของจุด
                  ตรวจสอบในสนาม ตั้งแต่ 1 จุดต่อ 8 เฮกตาร์ ถึง 1 จุดต่อ 12.5 เฮกตาร์ (1 จุดต่อ 50-80 ไร่) และ

                  เหมาะสมส าหรับการใช้ประเมินลักษณะดินชนิดต่างๆ เพื่อใช้ในการวางแผนฟาร์มระดับไร่นา หรือวาง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22