Page 24 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 24

15





                  ตารางที่ 1  ประเภทเนื้อดินบนที่เป็นดินแร่ (ต่อ)
                         ชั นของเนื อดินบน           กลุ่มเนื อดินบนระดับกลาง      กลุ่มเนื อดินบนระดับหยาบ

                        (textural classes)       (intermediate textural groups)    (broad textural groups)
                  ดินเหนียวปนทราย               เนื้อดินละเอียด                   ดินเหนียว (c: clayey)

                  (sc: sandy clay)              (f: fine textured)
                  ดินเหนียวปนทรายแป้ง

                  (sic: silty clay)
                  ดินเหนียว
                  (c: clay)

                                         ประเภทเนื้อดินบนที่เป็นวัสดุดินอินทรีย์  ใช้หลักเกณฑ์พิจารณาเช่นเดียวกับ

                  ประเภทเนื้อดินบนที่เป็นวัสดุดินแร่ เนื้อดินบนประเภทนี้ส่วนใหญ่ใช้กับดินที่มีชั้นวัสดุอินทรีย์หนาหรือเป็น
                  ดินในอันดับฮิสโตโซลส์ (Histosols)

                                         วัสดุดินอินทรีย์ (organic  soil  material) ในกรณีที่ดินอิ่มตัวด้วยน้ าหรือเคย
                  อิ่มตัวด้วยน้ าจะเป็นวัสดุดินอินทรีย์ที่มีคาร์บอนอินทรีย์ตั้งแต่ร้อยละ 18 โดยน้ าหนัก เมื่อมีดินเหนียวตั้งแต่ร้อย

                  ละ 60  ขึ้นไปโดยน้ าหนัก หรือมีคาร์บอนอินทรีย์ตั้งแต่ร้อยละ 12  โดยน้ าหนัก เมื่อไม่มีดินเหนียว หรือมี
                  คาร์บอนอินทรีย์ตั้งแต่ร้อยละ 12 โดยน้ าหนักรวมกับผลคูณของร้อยละดินเหนียวด้วย 0.1 (12 + เปอร์เซ็นต์ C

                  x 0.1) เมื่อมีดินเหนียวน้อยกว่าร้อยละ 60 โดยน้ าหนัก (มีคาร์บอนอินทรีย์เป็นสัดส่วนระหว่างร้อยละ 12-

                  18  โดยน้ าหนัก เมื่อมีดินเหนียวระหว่างร้อยละ 0-60  โดยน้ าหนัก) ในกรณีที่ดินไม่เคยอิ่มตัวด้วยน้ าจะต้องมี
                  คาร์บอนอินทรีย์ตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไป โดยน้ าหนัก

                                         ประเภทเนื้อดินบนที่เป็นวัสดุอินทรีย์ แบ่งออกได้ 3 ชนิด ดังนี้

                                              ดินพีต (pt: peat) เป็นดินที่มีเส้นใยมาก (fibric soil material)
                                              ดินมักกี้พีต (mkp: mucky  peat)  เป็นดินที่มีเส้นใยปานกลาง (hemic

                  soil material)
                                              ดินมัก (mk : muck) เป็นดินที่ไม่มีเส้นใยหรือมีน้อยมาก (sapric soil material)

                                         ส าหรับดินอนินทรีย์หรือดินแร่ที่พบในที่ลุ่มต่ าหรือแอ่งต่ า และเนื้อดินบนมี
                  สมบัติใกล้เคียงกับดินมัก (muck) แต่มีปริมาณคาร์บอนอินทรีย์น้อยกว่า มีสีคล้ าและร่วนซุย อุ้มความชื้นได้

                  ดี โดยทั่วไปมีอินทรียวัตถุมากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ และใช้น าหน้าเพื่อขยายเนื้อดินที่เป็นดินแร่ เรียกว่า มักกี้

                  (mucky) เช่น ดินร่วนปนมัก (mkl: mucky loam)
                                      (2) ประเภทของความลาดชัน (Phases of Slopes)

                                         ความลาดชันของพื้นที่ (slope) หมายถึง สภาพพื้นที่ที่เบี่ยงเบนหรือเอียงไปจาก

                  แนวระนาบ ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นองศาหรือเปอร์เซ็นต์ แบ่งออกได้เป็น 8 ชั้น ดังนี้
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29