Page 12 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 12

3





                  ล าธารที่เกิดจากน้ าฝน ผ่านกระบวนการเก็บกัก ณ จุดต่าง ๆ ภายในระบบและการระบายลงสู่พื้นที่ตอนล่าง
                  โดยแบ่งลักษณะการไหลเป็น 3  ลักษณะ คือ น้ าไหลบ่าหน้าผิวดิน (overland  flow) น้ าไหลภายในดิน

                  (inter flow) และน้ าไหลใต้ผิวดิน (groundwater flow) (กรมทรัพยากรน้ า, 2551)
                             แบบรูปทางน  า (Drainage Pattern)  หมายถึง รูปร่างหรือการจัดรูปแบบทางน้ าตามธรรมชาติใน

                  บริเวณใดๆก็ตามที่ปรากฏ เมื่อมองในแนวดิ่ง ทางน้ านี้จะแสดงถึงทิศทางการไหลของน้ าทั้งส่วนที่มีน้ าไหล

                  ตลอดเวลาและส่วนที่มีน้ าไหลเป็นครั้งคราวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แบบรูปทางน้ าจะมีความสัมพันธ์กับ
                  ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา ธรณีสัณฐาน ประวัติของบริเวณนั้นๆ และชนิดของหินรองรับพื้นที่นั้น เป็นต้น

                  ดังนั้นถ้าเราทราบว่าแบบรูปทางน้ าในแต่ละบริเวณเป็นแบบใด เราอาจจะคาดคะเนเกี่ยวกับชนิดและโครงสร้าง

                  ของหินในบริเวณนั้นๆ ได้แบบรูปทางน้ าที่ส าคัญมีดังนี้ (อภิศักดิ์, 2541)
                                - แบบรูปทางน้ ากิ่งไม้ (dendritic  drainage  pattern)  ประกอบด้วยทางน้ าที่มีสาขา

                  หลายสาย ไหลมาลงทางน้ าสายใหญ่ ท าให้มีรูปลักษณะคล้ายกิ่งก้านสาขาของต้นไม้ มุมที่ทางน้ าแต่ละสาขา
                  มารวมกัน มีค่าน้อยกว่า 90 องศา ทิศทางการไหลของน้ าไม่เป็นระเบียบแบบรูปทางน้ านี้พบเสมอในบริเวณ

                  ที่มีความลาดชันเล็กน้อย มักเกิดในบริเวณที่หินรองรับมีความทนทานต่อการกร่อนใกล้เคียงกัน เช่น
                  หินตะกอนที่วางตัวในแนวระดับ ที่ราบตะกอนลมหอบ (loess deposits) หินอัคนีที่มีเนื้อสม่ าเสมอ เป็นต้น

                  และไม่ขึ้นกับอิทธิพลของโครงสร้างทางธรณีวิทยา

                                - แบบรูปทางน้ าขนาน (paeallel drainage pattern) รูปแบบการระบายน้ าแบบนี้ล าน้ า
                  สายใหญ่และสายเล็กๆ ไหลขนานกันหรือเกือบขนานกันบางทีมีลักษณะคล้ายหางม้ามักเกิดตามแนวแตก

                  ของหินที่ขนานกัน มีความลาดเทค่อนข้างสูง และยังพบในบริเวณแนวแตกของหินที่มีเพียงแนวเดียวด้วยให้

                  การระบายน้ าดี
                                - แบบรูปทางน้ าตั้งฉาก (rectangular  drainage  pattern)  แบบรูปทางน้ าที่มีทางน้ า

                  ประธาน และล าน้ าสาขาบรรจบกันเป็นมุมฉากหลายๆแห่ง เนื่องมาจากทางน้ าไหลตามรอยแยก (joint)
                  หรือรอยเลื่อน (fault)  ท าให้มีรูปลักษณะคล้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทางน้ าที่ไหลมารวมกันเป็นมุมฉากอย่าง

                  ชัดเจน เรียกว่า sharp rectangular drainage patterns
                                - แบบรูปทางน้ ารัศมี (radial drainage pattern) แบบรูปทางน้ าที่มีทิศทางการไหลของ

                  น้ าออกจากศูนย์กลาง มีลักษณะเป็นรูปรัศมี มักเกิดในบริเวณที่พื้นที่ตรงกลางสูง โดยเฉพาะพื้นที่โครงสร้างรูป

                  โดมที่เกิดใหม่ๆ ยังไม่มีการกร่อน หรือพื้นที่กรวยภูเขาไฟ
                             พื นที่ลุ่มน  า (Watershed Area) หมายถึง พื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้ า (divide) เป็นพื้นที่

                  รับน้ าฝนของแม่น้ าสายหลักในลุ่มน้ านั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุ่มน้ าจะไหลออกสู่ล าธารสายย่อยๆ

                  (suborder) แล้วรวมกันออกสู่ล าธารสายใหญ่ (order)  และรวมกันออกสู่แม่น้ าสายหลัก (mainstream)
                  จนไหลออกปากน้ า (outlet) ในที่สุด (ค ารณ, 2552)

                             การแบ่งพื นที่ลุ่มน  า
                             ลุ่มน้ าในประเทศไทย (Watershed of Thailand) แบ่งได้เป็น 25 ลุ่มน้ าหลัก (กรมทรัพยากรน้ า,

                  2551) ได้แก่
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17