Page 199 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 199

143






                        8.9.5   เขตพื้นที่อื่นๆ (หนวยแผนที่ 5)

                               เขตพื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่ประมาณ 308  ไร  หรือรอยละ  0.08  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา การใช

                  ประโยชนที่ดินสวนใหญเปนบอลูกรัง บอดิน เหมืองแรเกา บอขุดเกา และพื้นที่ทิ้งขยะ เปนตน


                  9. สรุปและขอเสนอแนะ

                    9.1   สรุป

                         คลองจันดี ( รหัส 2202)  ตั้งอยูในพื้นที่บางสวน/บางอําเภอของจังหวัด นครศรีธรรมราช

                  มีเนื้อที่ 399,906 ไร  มีระดับความสูง  22-1,590 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง  สภาพภูมิประเทศ
                  สวนใหญเปนพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ   กลุมชุดดินที่พบทั้งหมด  12 กลุมชุดดิน มีเนื้อที่

                  338,664 ไร หรือรอยละ 84.68 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 6 หนวย มีเนื้อที่ 61,242 ไร หรือ

                  รอยละ 15.32 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ซึ่งมีหนวยแผนที่ดินอยู 60 หนวยแผนที่ สภาพการใชที่ดินสวนใหญ
                  เปนพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 315,825 ไร หรือรอยละ 78.98 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา โดยพื้นที่สวนใหญ

                  เปนพื้นที่ปลูกไมยืนตน มีเนื้อที่ 281,495  ไร หรือรอยละ 70.39  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ซึ่งยางพารามี

                  พื้นที่ปลูกมากที่สุด มีเนื้อที่ 273,158 ไร หรือรอยละ 68.31 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา และรองมาเปนพื้นที่

                  ปลูกไมผลผสม มีเนื้อที่ 15,077 ไร หรือรอยละ 3.77 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                   สถานภาพของทรัพยากรดินที่มีปญหาและขอจํากัดในการใชประโยชนในพื้นที่ลุมน้ํา   สาขา

                  คลองจันดี ( รหัส 2202) ประกอบดวยดินคอนขางเปนทราย มีเนื้อที่  128,126  ไร หรือรอยละ  32.05

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา  ไดแก ดินคอนขางเปนทรายที่ลุม มีเนื้อที่  6,377 ไร และดินคอนขางเปนทราย
                  ที่ดอน มีเนื้อที่ 121,749 ไร ซึ่งเปนปญหา จากเนื้อดินที่คอนขางเปนทรายและมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                  ควรมีการใสปุยอินทรีย ปุยคอก หรือปุยหมัก หรือปลูกพืชปุยสดแลวไถกลบ เพื่อเพิ่มปริมาณธาตุ

                  อาหารที่เปนประโยชนตอการเจริญเติบโตของพืช และปรับปรุงสมบัติดานกายภาพของดิน ดินตื้น  มี
                  เนื้อที่ 30,541 ไร หรือรอยละ 7.63 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ไดแก ดินตื้นปนกรวดที่ดอน มีเนื้อที่ 17,932 ไร

                  และดินตื้นถึงชั้นหินพื้นที่ดอน มีเนื้อที่  12,609 ไร เปนดินตื้นมีผลตอการหยั่งลึกของราก ซึ่งไมควร

                  นํามาใชประโยชนและควรปลอยไวใหเปนปาธรรมชาติ หรือพื้นที่เลี้ยงสัตว หรือปลูกไมใชสอยโตเร็ว
                  และเลือกพื้นที่ที่มีหนาดินหนาและมีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ จัดระบบการปลูกพืชหมุนเวียน

                  ตลอดทั้งปและปลูกพืชบํารุงดินรวมดวย หรือควรนํามาตรการทางวิธีกลมาใช

                   การประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดินในลุมน้ําสาขา      คลองจันดี ( รหัส 2202) มีระดับ

                  ความรุนแรงของการชะลางพังทลายของดิน  5  ระดับ คือ นอย ปานกลาง รุนแรง  รุนแรงมาก และ
                  รุนแรงมากที่สุด มีเนื้อที่ 258,835   94,746   33,033   1,928  และ 11,364  ไร ตามลําดับ หรือรอยละ

                  64.73  23.69    8.26  0.48    และ 2.84 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ตามลําดับ พื้นที่ลุมน้ําสาขานี้สวนใหญ







                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204