Page 196 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 196

140






                               2)  เขตพื้นที่มีศักยภาพปานกลาง  มีเนื้อที่ 37,502  ไร หรือรอยละ 9.37 ของพื้นที่ลุมน้ํา

                  สาขา เปนพื้นที่ทําการเกษตรโดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก ดินมีศักยภาพในการผลิตเล็กนอยหรือ

                  ไมเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช หรือมีขอจํากัดของการใชประโยชนที่ดิน ซึ่งถาหากมีการนําพื้นที่มา
                  ใชประโยชนจะตองมีการแกไขปญหาที่มีขอจํากัดรุนแรงของการใชที่ดินนั้นๆ ซึ่งยากตอการแกไข

                  หรือตองใชเงินทุนสูง เชน ปญหาดินเปนทรายจัดหรือดินคอนขางเปนทราย ซึ่งมีผลตอความสามารถ

                  ในการอุมน้ําที่เปนประโยชนตอพืชต่ํารวมถึงการที่ดินมีปริมาณธาตุอาหารพืชต่ํา หรือปญหาดินตื้น

                  ซึ่งเปนอุปสรรคตอการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นการใชประโยชนที่ดินในบริเวณนี้จึงจําเปนอยางยิ่ง
                  ที่จะตองมีการพัฒนาหรือปรับปรุง และมีมาตรการเฉพาะเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น รวมถึงตองมี

                  มาตรการในการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม เพื่อปองกันมิใหเกิดความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากร

                  ธรรมชาติ พื้นที่เขตนี้สามารถแบงยอยตามสภาพการใชที่ดินได 3 เขตยอย ดังนี้
                                 (1)  เขตพื้นที่มีศักยภาพปานกลางสําหรับพืชไร/ไมยืนตน (หนวยแผนที่ 221) มีเนื้อที่

                  23,283 ไร หรือรอยละ 5.82 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา สภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด

                  ดินมีปญหาดานความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา  ดินตื้น เนื้อดินคอนขางเปนทราย หรือมีเศษหิน

                  ปะปน พืชที่ปลูกมีโอกาสเสี่ยงตอการขาดน้ําในชวงที่ฝนทิ้ง ชวงเปนเวลานาน  พื้นที่เขตนี้มีความ
                  เหมาะสมสําหรับปลูกพืชไรเล็กนอย

                                 แนวทางการพัฒนา ควรกําหนดเปนพื้นที่เปาหมายในการเรงรัดพัฒนา ปรับปรุง

                  แกไขสภาพดินปญหาพรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําตามหลักวิชาการ เพิ่มศักยภาพการผลิต
                  ดวยการพัฒนาแหลงน้ํา เชน สรางบอน้ําในไรนา  หรืออาจทําเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเกษตร

                  ทฤษฎีใหม สําหรับบริเวณพื้นที่ความลาดชันสูงควรสนับสนุนการปลูกสวนปา และไมโตเร็วควบคูกับ

                  การอนุรักษดินและน้ํา เพื่อเปนการเก็บกักน้ําและความอุดมสมบูรณของดิน

                                 (2)  เขตพื้นที่มีศักยภาพปานกลาง สําหรับทุงหญา/ไมยืนตน  (หนวยแผนที่ 222)  มี

                  เนื้อที่ 14,219 ไร หรือรอยละ 3.55 ของ  พื้นที่ลุมน้ําสาขา  สภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปน

                  ลูกคลื่นลอนลาด ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา มักพบปญหาดินตื้นที่มีกรวดปะปนจนเปน
                  อุปสรรคตอการชอนไชของรากพืช และพื้นที่สวนใหญอยูในบริเวณที่มรการสูญเสียดินในระดับ

                  ปานกลางถึงระดับรุนแรงมากที่สุด กําหนดใหเปนเขตปลูกไมยืนตน เพื่อชวยอนุรักษดินและน้ํา ลดความ

                  เสื่อมโทรมของทรัพยากรดินที่เกิดบริเวณดังกลาว และจะไดไมสงผลกระทบตอพื้นที่ที่อยูต่ําลงมาของ
                  พื้นที่ลุมน้ํา











                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201