Page 204 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 204

148






                       (     2) ผลักดันใหมีการนําเขตการใชที่ดินเพื่อการปลูกพืชที่จัดทําไว ไปใชใหบรรลุวัตถุประสงค

                  ควรมีการจัดทําประชาพิจารณ   เพื่อรับทราบแนวคิดและทัศนคติของเกษตรกรและผูที่เกี่ยวของ

                  กอนการดําเนินงาน
                       (     3) ควรศึกษาการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกไมผลและไมยืนตน บริเวณที่มีความ

                  ลาดชันสูง เพื่อจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมในแตละพื้นที่และใชเปนฐานขอมูลดานการ

                  จัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะในเขตพื้นที่เสี่ยงตอการสูญเสียดิน

                       (     4) เนื่องจากความตองการพืชอาหารและพืชพลังงานมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ดังนั้น พื้นที่ที่ควร
                  เรงเขาไปดําเนินการลําดับแรก  คือ  พื้นที่ในเขตพื้นที่ศักยภาพสูงและเขตพื้นที่ศักยภาพปานกลาง

                  ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีความพรอมที่จะยกระดับผลผลิตใหสูงขึ้น ถามีการบริหารจัดการที่ดินตั้งแตการพัฒนา

                  แหลงน้ําขนาดเล็ก  การปรับปรุงบํารุงดินและการใชปุยที่ถูกตองเหมาะสม    การพัฒนาพันธุ พืช
                  เหมาะสมกับพื้นที่ การปองกันและกําจัดศัตรูพืชอยางถูกวิธี

                            (5) หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ  เชน  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร  กรม

                  สงเสริมการเกษตร และกรมวิชาการเกษตร ควรจัดหาพืชพันธุดีที่มีคุณภาพ ตลอดจนปจจัยการผลิต จัด

                  จําหนายใหกับเกษตรกรไดทันกับเวลาที่ตองการใช
                            (6) สนับสนุนใหมีระบบการทําสัญญาขอตกลงการ ซื้อขายลวงหนา  เพื่อควบคุมปริมาณ

                  การผลิตและการตลาด   เนื่องจาก ในปจจุบันราคา ผลผลิตทางการเกษตร ในแตละปมีความผัน ผวน

                  คอนขางมาก
                            (7) การพัฒนาระบบโลจิสติกสและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  เพื่อใชในการบริหาร การ

                  จัดการใหมีประสิทธิภาพตั้งแตการปลูก  การเก็บเกี่ยวและการขนสง เพื่อเปนการลดตนทุนโดยรวม

                  และลดความเสียหายคุณภาพของสินคาเกษตร
                               สําหรับขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังที่กลาวมาแลวนั้น สามารถนํามาปรับใชในทาง

                  ปฏิบัติใหเกิดเปนรูปธรรมได โดยกําหนดเปนมาตรการเสริมเชิงบังคับและ    หรือ จูงใจ เพื่อ

                  สนับสนุนให การพัฒนาและ การใชที่ดินลุมน้ํามีผลในทางปฏิบัติและ สามารถดําเนินการได บรรลุ
                  เปาหมายในอนาคต






















                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209