Page 195 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 195

139






                                 แนวทางการพัฒนา

                                    - พื้นที่ที่เหมาะสมตอการปลูกไมผล เชน ทุเรียน เงาะ มังคุด และพืชผักตางๆ

                  ควรจัดหาตลาดรองรับ ทั้งนี้ในพื้นที่ลุมน้ํามีความเหมาะสมในการผลิตไมผล เพื่อจําหนายใน ตลาด
                  สําหรับบริโภคภายในพื้นที่ลุมน้ํา เนื่องจากเปนที่ตั้งของแหลงชุมชน โดยแนวทางการจัดการดานการผลิต

                  ไมผล ควรใชแนวทางของเกษตรอินทรีย เพื่อลดการใชสารเคมี โดยการใชปุยอินทรียและผลิตภัณฑ

                  จากเทคโนโลยีชีวภาพ มีการจัดสรางแหลงน้ําในไรนาเพื่อลดความเสี่ยงจากภาวะแลงอันจะกระทบตอ
                  ปริมาณผลผลิต

                                    - สงเสริมการทําการเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อลดความเสี่ยงของเกษตรกรรายยอย
                  บางบริเวณพื้นที่คอนขางลุมควรทําทางระบายน้ําไมใหทวมขังในฤดูฝน


                                 (3)  เขตพื้นที่มีศักยภาพสูงสําหรับไมยืนตน  มีเนื้อที่ 241,278 ไร หรือรอยละ 60.34
                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด ดินรวนปนทรายถึงรวนเหนียวปนทรายแปง ความ

                  อุดมสมบูรณคอนขางต่ําถึงต่ํา มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับการปลูกไมยืนตน
                                    - เขตปลูกยางพารา (หนวยแผนที่ 2131) มีเนื้อที่ 225,740 ไร หรือรอยละ 56.45

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา   สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ดินรวนปนทรายถึงดิน รวนเหนียว

                  ปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับการปลูกไมยืนตน   ปจจุบันมีการใช
                  ประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกยางพาราอยูแลว พื้นที่เขตนี้เปนแปลงขนาดใหญกระจายอยูทั่วไปในลุมน้ํา

                                    - เขตปลูกปาลมน้ํามัน (หนวยแผนที่ 2132) มีเนื้อที่ 8,147 ไร หรือรอยละ 2.04

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา   สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ดินรวนปนทรายถึงดิน รวนเหนียว
                  ปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับการปลูกไมยืนตน   ปจจุบันมีการใช

                  ประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกไมยืนตนผสม

                                    - เขตปลูกไมยืนตนผสม (หนวยแผนที่ 2134) มีเนื้อที่ 7,391 ไร หรือรอยละ 1.85
                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา   สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ดินรวนปนทรายถึงดิน รวนเหนียว

                  ปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับการปลูกไมยืนตน   ปจจุบันมีการใช
                  ประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกไมยืนตนผสม

                                 แนวทางการพัฒนา

                                    - ปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณดวยการใสปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียให
                  ถูกตองตามลักษณะดิน ในชวงดินมีความชื้นเหมาะสมควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่ว เพื่อเพิ่ม

                  อินทรียวัตถุแกดิน
                                    - จัดสรางแหลงน้ําในไรนาเพื่อลดความเสี่ยงจากภาวะแลงอันจะกระทบตอ

                  ปริมาณผลผลิต

                                    - ควรมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง





                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200