Page 201 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 201

145






                     เขตพื้นที่ศักยภาพการใชที่ดิน  ในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี  (รหัส 2202) ดานการเกษตร

                  ตามแผนการใชที่ดิน กําหนดใหเปน เขตพื้นที่มีศักยภาพสําหรับเกษตรกรรม มีเนื้อที่ 304,815 ไร หรือ

                  รอยละ 76.12 ของ พื้นที่ลุมน้ําสาขา ในจํานวนนี้ไดกําหนดใหเปน เขตพื้นที่มีศักยภาพสูงสําหรับ
                  ไมยืนตน (ยางพารา ปาลมน้ํามัน) เขตพื้นที่มีศักยภาพปานกลาง สําหรับพืชไร/ไมยืนตน เปนหลัก โดย

                  พื้นที่ทําการเกษตรที่มีความลาดชัน และเปน แนวตอกับเขตปาไมกําหนดใหเปนเขตปลูกไมยืนตน

                  เพื่อเพิ่มพื้นที่ปาไมและเปนการอนุรักษดินและน้ํา อันจะสงผลตอความชุมชื้นของดินที่จะเปนประโยชน

                  ทั้งในพื้นที่เขตนี้และพื้นที่ตอเนื่อง ในบริเวณที่ราบ ของพื้นที่ลุมน้ํา  ขอจํากัดและปญหาสําคัญดาน
                  การเกษตร คือ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและปญหาดานการตลาด ความ แปรปรวนของราคา

                  พืชผลการเกษตร ซึ่งเปนหนาที่สําคัญของ หนวยงานภาครัฐที่จะเรงดําเนินการแกไข โดยกําหนด

                  นโยบายและมาตรการกําหนดพื้นที่เพื่อใหมี การผลิต อยางมีประสิทธิภาพและใหความรูแกเกษตรกร
                  ในดานการผลิตและการจัดการไรนา รวมถึงการรวมกลุมเกษตรกรใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนตอไป


                    9.2   ขอเสนอแนะ
                         การจัดทําเขตพื้นที่ศักยภาพการใชที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาเปนการกําหนดเขตโดยพิจารณา

                  จากลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ การใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน ทรัพยากรดินตามศักยภาพของ

                  พื้นที่ตลอดจนความเหมาะสมในการเพาะปลูก และขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากรและ

                  ที่ดินปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติ รวมถึงพื้นที่ภายใตขอกําหนดที่ตองสงวนพื้นที่ไวเพื่อการอนุรักษ
                  ดังนั้นการนําเขตพื้นที่ศักยภาพการใชที่ดินไปใชเปนฐานขอมูลในการวางแผนการใชที่ดิน

                  อยางเหมาะสม และมีการแปลงแผนใหเกิดสูการปฏิบัติใหมีประสิทธิภาพและเปนรูปธรรม หนวยงาน

                  ที่เกี่ยวของและชุมชนในพื้นที่ลุมน้ํา จึงควรนําแผนการใชที่ดินที่ไดจาการวิเคราะหขอมูลศักยภาพของ
                  พื้นที่ดังกลาวไปพิจารณาและรวมดําเนินการจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดินใหมีความสอดคลองกัน

                  ทั้งระบบเพื่อการบริหารการจัดการพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองตามหลักวิชาการ อีกทั้งยัง

                  ชวยลดปญหาความขัดแยงในเรื่องการใชประโยชนพื้นที่ได  โดยเขตที่ตองเรงดําเนินการ จัดการพื้นที่

                  เพื่อการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต   ไดแก  เขตพื้นที่ศักยภาพสูงและเขตพื้นที่ศักยภาพ
                  ปานกลาง เนื่องจากในบริเวณดังกลาวเปนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการเพาะปลูกปานกลางถึงสูง

                  ซึ่งบริเวณดังกลาวเปนบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนาเพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตได

                  ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของจึงควรประสานงานเพื่อจัดหาแหลงน้ําเพื่อการเกษตร   เปนตน เพื่อชวย

                  สงเสริมและสนับสนุนเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต และลดตนทุนการผลิต ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
                  โดยมีขอเสนอแนะดานตางๆ ดังนี้









                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206