Page 198 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 198

142






                               1) เขตชุมชน (หนวยแผนที่ 31) มีเนื้อที่ 9,917 ไร หรือรอยละ 2.48 ของ  พื้นที่ลุมน้ํา

                  สาขา ไดแก เขตเทศบาล ยานการคา ชุมชนที่มีการตั้งบานเรือนผสมกับการปลูก ไมผลผสมในอาณา

                  บริเวณเดียวกัน
                                    แนวทางการพัฒนา  ควรเรงแกไขปญหาขยะและน้ําเสียของชุมชน เพื่อ   ลด

                  ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานใหดีขึ้น และกระจาย

                  อยางทั่วถึง สวนที่เปนไมผลผสมในหมูบานควรพัฒนากระบวนการผลิตไมผลและพืชผัก โดย

                  สงเสริมการผลิตพืช ปลอดสารพิษ เพิ่มศักยภาพการผลิตโดยปรับปรุงโครงสรางของดินดวยการปลูก
                  พืชตระกูลถั่วในพื้นที่ สงเสริมการใชปุยอินทรียและผลิตภัณฑเทคโนโลยีชีวภาพทดแทนการใช

                  ปุยเคมีและสารเคมี ตลอดจนการพัฒนาบอน้ําในไรนาสนับสนุนการปลูกไมผล พืชสวนผสมและ

                  พืชผัก สงเสริมการทําการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อลดความเสี่ยงของเกษตรกรรายยอย
                               2)  สถานที่ราชการ และสถาบันตางๆ (หนวยแผนที่ 3 2) มีเนื้อที่ 3,353 ไร หรือรอยละ

                  0.84 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ไดแก เขตสถานที่ราชการและสถาบันตางๆ

                               3)  ระบบโครงขายคมนาคม (หนวยแผนที่ 33) มีเนื้อที่ 1,186 ไร หรือรอยละ 0.30 ของ

                  พื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนบริเวณพื้นที่ถนนตางๆ ไดแก ทางหลวงแผนดิน ทางหลวงชนบทและ
                  ถนนอื่นๆ ที่เปนโครงการคมนาคมภายในพื้นที่ลุมน้ํา พื้นที่ถนนไดจากการสํารวจประกอบกับภาพถาย

                  ทางอากาศและคํานวณเนื้อที่ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตรของสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดินที่ 1

                  และ 2 สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน

                        8.9.4   เขตแหลงน้ํา

                         มีเนื้อที่ 1,839 ไร หรือรอยละ 0.46 ของ  พื้นที่ลุมน้ําสาขา เขตนี้กําหนดจากแหลงน้ํา
                  ธรรมชาติ (หนวยแผนที่  41) ไดแก แมน้ํา ลําคลอง หนอง บึงตางๆ และแหลงน้ําที่สรางขึ้น (หนวย

                  แผนที่  42)  ไดแก อางเก็บน้ําและบอน้ํา แหลงน้ําเหลานี้ใชประโยชนทั้งทางดานเก็บกักน้ํา เพื่อ

                  การอุปโภค บริโภค และใชในดานเกษตรกรรม ตลอดจนเปนแหลงอาหารตามธรรมชาติและแหลง

                  เพาะเลี้ยงสัตวน้ําของชุมชน
                               แนวทางการพัฒนา ควรดูแลรักษาแหลงน้ําธรรมชาติและแหลงน้ําที่สรางขึ้นไมให

                  เสื่อมโทรมทั้งดานคุณภาพของน้ําและการกักเก็บน้ํา ไมปลอยใหลําน้ําตื้นเขินและถูกบุกรุก หมั่นขุดลอก

                  คูคลอง ไมทิ้งขยะหรือปลอยน้ําเสียลงในแหลงน้ํา เรงรัดพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กใหกระจายอยูทั่วพื้นที่
                  เพื่อใชในการอุปโภคบริโภคและการเพาะปลูกในชวงขาดน้ํา












                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203