Page 159 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 159

113






                     8.6.1  พื้นที่ที่มีความสําคัญในการฟนฟูลําดับเรงดวน สภาพพื้นที่จะมีความลาดชันสูง การใช

                  ที่ดินทําการเกษตรจะมีขอจํากัดมาก มีอัตราการชะลางพังทลายอยูในระดับปานกลางถึงรุนแรงมาก

                  พื้นที่ดังกลาวสวนใหญเปนพื้นที่ลาดชันเชิงซอน และมีการใชที่ดินทําการเกษตร สวนใหญปลูก
                  ยางพาราและบางสวนปลูกไมผลผสม การใชที่ดินบริเวณนี้ถาไมมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา

                  ควบคูดวย นอกจากจะมีแนวโนมในการเกิดการชะลางพังทลายของดินสูงแลวที่ดินยังจะเสื่อมโทรม

                  และเปนปญหาตอการจัดการในระยะยาว พื้นที่ดังกลาวสวนใหญอยูบริเวณทางดานทิศ

                  ตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุมน้ําสาขา (ตอนกลางของพื้นที่ตําบลชางกลาง อําเภอชางกลาง
                  จังหวัดนครศรีธรรมราช) และบริเวณทางดานทิศตะวันตกเฉียงใตของพื้นที่ลุมน้ําสาขา   (ทิศเหนือ

                  และทิศใตของตําบลเขาขาว อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช)

                            ดังนั้นการใชประโยชนที่ดินบริเวณนี้จําเปนตองมีมาตรการอนุรักษดินและน้ําอยาง
                  เขมขน หรือคงสภาพเปนปาไมไว เพื่อลดปญหาที่เกิดขึ้นกับพื้นที่โดยตรงและโดยทางออมกับพื้นที่

                  ปลายน้ําที่อยูถัดออกไป

                      8.6.2    พื้นที่ที่มีความสําคัญในการฟนฟูลําดับปกติ   พื้นที่ในลําดับนี้สวนใหญมีปญหา

                  เรื่องการชะลางพังทลายของดินในระดับนอยถึงนอยมาก เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนที่ราบถึงราบลุม มี
                  ความลาดชันนอยหรือในบางพื้นที่มีสภาพเปนปาไมสมบูรณตามธรรมชาติในเขตพื้นที่ภูเขา สวนใหญ

                  อยูบริเวณทางตอนกลางของพื้นที่ลุมน้ําสาขา มีการที่ดินในการทํานา ปลูกไมผล และไมยืนตนผสม

                  ในลักษณะสวนผสม พื้นที่นี้มีความจําเปนที่จะตองเฝาระวังหากพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน
                  หรือเปลี่ยนสมดุลของสิ่งแวดลอม อาจทําใหเกิดการชะลางพังทลายรุนแรง หรือดินมีการเสื่อมโทรม

                  ไดโดยเร็ว ดังนั้นควรตองมีการใหความรูแกชุมชนเพื่อชวยกันปกปองที่ดินโดยมีระบบอนุรักษดิน

                  และน้ําใหถูกตองตามหลักวิชาการ อันจะเปนประโยชนตอที่ดินทรัพยสินและสิ่งแวดลอมโดยรวม


                    8.7  การประเมินคุณภาพที่ดิน

                      8.7.  1   การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ   เปนการประเมินความเหมาะสมของที่ดินที่ได
                  จําแนกไวในแตละหนวยที่ดินกับประเภทการใชประโยชนที่ดิน โดยใชวิธีการประเมินตามหลักการของ

                  FAO Framework ซึ่งในการประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชหรือประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                  จะพิจารณาจาก สมบัติของดินดานกายภาพและเคมี สภาพเศรษฐกิจและสังคม สภาพแวดลอมที่มีผลตอการ

                  เจริญเติบโตของพืช รวมทั้งความยากงายในการใชประโยชนที่ดินในการปลูกพืช เพื่อกําหนดระดับหรือชั้น
                  ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชหรือประเภทการใชประโยชนที่ดิน โดยใชคูมือการประเมิน

                  คุณภาพที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ (บัณฑิต ตันศิริ และคํารณ ไทรฟก, 2535) และนําผลที่ไดไปกําหนด










                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164