Page 162 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 162

116




                                1) ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับขาวนาป

                                   (1) ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง มีเนื้อที่ 10,577 ไร หรือรอยละ 2.64 ของ พื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา มีขอจํากัดหรือปญหาการปลูกพืช ไดแก

                                     - ขาดความชุมชื้นที่เปนโยชนตอพืช ( m) เล็กนอย เนื่องจากเนื้อดินเปนพวก
                  ดินรวนละเอียด ทําใหมีความสามารถอุมน้ําที่เปนประโยชนตอพืชคอนขางต่ํา

                                     - ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s) เนื่องจากดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                                     - ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) คอนขางต่ําถึงต่ํา
                                   (2) ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย มีเนื้อที่ 5,405 ไร หรือรอยละ 1.35 ของ  พื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา มีขอจํากัดหรือปญหาการปลูกพืช ไดแก

                                     - ขาดความชุมชื้นที่เปนโยชนตอพืช ( m) คอนขางรุนแรง เนื่องจากลักษณะของ

                  เนื้อดินเปนพวกดินรวนหยาบ ทําใหมีความสามารถอุมน้ําที่เปนประโยชนตอพืชต่ําถึงต่ํามาก หรือ
                  สภาพภูมิประเทศอยูสูงกวาที่ราบลุม

                                     - การหยั่งลึกของราก (r) มีอุปสรรคคอนขางมาก เนื่องจากดินตื้น (ความลึก 25-50

                  เซนติเมตร) และพบปริมาณกอนกรวด 40-80 เซนติเมตร ภายในระดับความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน
                                2) ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับยางพารา

                                   (1) ที่ดินมีความเหมาะสมสูง มีเนื้อที่ 63,327 ไร หรือรอยละ 15.84 ของ พื้นที่ลุมน้ํา

                  สาขา ไมมีขอจํากัดหรือปญหาการปลูกพืชดังกลาว
                                   (2) ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง มีเนื้อที่ 193,248 ไร หรือรอยละ 48.32 ของ

                  พื้นที่ลุมน้ําสาขา มีขอจํากัดหรือปญหาการปลูกพืช ไดแก

                                     - ขาดความชุมชื้นที่เปนโยชนตอพืช ( m) เล็กนอย เนื่องจากเนื้อดินเปนพวก
                  ดินรวนละเอียด ทําใหมีความสามารถอุมน้ําที่เปนประโยชนตอพืชคอนขางต่ํา

                                     - ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s) เนื่องจากดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                                     - ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) คอนขางต่ําถึงต่ํา

                                     - การหยั่งลึกของราก (r) มีอุปสรรคเล็กนอย เนื่องจากดินลึกปานกลาง (ความลึก
                  50-100 เซนติเมตร)

                                     - เสี่ยงตอความเสียหายจากการกัดกรอน ( e) และศักยภาพการใชเครื่องจักร ( w)

                  มีอุปสรรคเล็กนอย เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน (ความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต)
                                  (3) ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย มีเนื้อที่ 29,529 ไร หรือรอยละ 7.38 ของ พื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา มีขอจํากัดหรือปญหาการปลูกพืช ไดแก









                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167