Page 161 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 161

115






                                  (3) ความตองการดานการอนุรักษ ( Conservation  requirement) เปนความตองการ

                  เพื่อสามารถใชที่ดินไดอยางยั่งยืนโดยไมทําลายคุณภาพของที่ดิน    หรือทําลายสิ่งแวดลอมอื่นๆ

                  อันเนื่องมาจากประเภทการใชประโยชนที่ดิน จึงตองมีมาตรการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมกับ
                  พื้นที่นั้นๆ ประกอบดวยปจจัยคุณภาพที่ดิน คือ  ความเสียหายจากการกัดกรอน (Erosion  hazard  :  e)

                  คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทนไดแก ความลาดชันของพื้นที่

                                2) การจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน   ในการจําแนกความเหมาะของที่ดิน

                  ตามหลักเกณฑของ   FAO  Framework เปนการประเมินศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกพืชหรือ
                  ประเภทการใชประโยชน โดยการพิจารณาเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางคุณภาพที่ดินหรือ

                  คุณลักษณะที่ดินของแตละหนวยที่ดิน กับความตองการปจจัยตางๆ ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช

                  หรือประเภทการใชประโยชนที่ดินวามีความเหมาะสมอยูในระดับใดและมีขอจํากัดใดบาง โดยได
                  จําแนกความเหมาะสมออกเปน 4 ชั้น คือ

                                  S1 : ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง

                                   S2 : ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                                   S3 : ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย
                                  N  : ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม


                               นอกจากนี้ชั้นความเหมาะสมแตละชั้น จะแบงเปนชั้นยอย (Subclass) ตามขอจํากัดของ
                  คุณภาพที่ดินซึ่งมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตของพืช โดยคุณภาพที่ดินหรือคุณลักษณะที่ดิน

                  ที่มีขอจํากัดที่รุนแรงที่สุดจะเปนตัวแทนความเหมาะสมของที่ดินรวมของหนวยที่ดินนั้น   โดยสรุป

                  ไดดังนี้
                               ลุมน้ําสาขาคลองจันดีมีหนวยที่ดินที่พบทั้งหมด 59 หนวย และไดกําหนดประเภทการ

                  ใชประโยชนที่ดิน 2 ประเภท คือ ขาวนาป และยางพารา นอกจากนี้ไดพิจารณาประเภทการใช

                  ประโยชนที่ดินเพื่อแนะนําเปนพืชทางเลือกในการกําหนดแผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาคลองจันดีได

                  2 ประเภท คือ ปาลมน้ํามัน และไมผล ซึ่งไดแก ทุเรียนและเงาะ ในการใชที่ดินดานการเกษตร พบวา
                  บริเวณที่ลุมบางแหงจะเปนพื้นที่ปลูกขาวนาป และบางแหงไดยกรองเพื่อปลูกปาลมน้ํามันเปน

                  สวนใหญ และปลูกยางพาราบาง บริเวณที่ดอนจะเปนพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามัน และยางพาราเปน

                  สวนใหญ สําหรับพืชประเภทไมผล ซึ่งไดแก เงาะ และทุเรียนมีพื้นที่ปลูกบางเล็กนอย จากการ
                  ประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับประเภทการใชประโยชนที่ดินดังกลาว ประกอบดวย ขาวนาป

                  ยางพารา ปาลมน้ํามัน และไมผล (ทุเรียนและเงาะ) สรุปไดดังนี้ (ตารางที่ 20 และ 21)









                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166