Page 155 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 155

109






                                  - หนวยที่ดินที่ 39b มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ และมีการทําคันนา

                  เพื่อขังน้ําสําหรับการปลูกขาว มีเนื้อที่ 65 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่ 39B มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 3,532 ไร หรือ
                  รอยละ 0.88 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่ 39Bb มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย และมีการทําคันนา

                  เพื่อขังน้ําสําหรับการปลูกขาว มีเนื้อที่ 78 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                  - หนวยที่ดินที่  39C มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 216 ไร หรือรอยละ

                  0.05 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่ 39C(E2) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด และอยูในบริเวณที่มีการ
                  สูญเสียดินอยูในระดับปานกลาง มีเนื้อที่ 40 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา


                               5) หนวยที่ดินที่  45  45B  45B(E2)  45Bb  45C(E2)   และหนวยที่ดินที่ 45C
                                  ดินเหนียวตื้นถึงชั้นหินพื้นที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่หรือเคลื่อนยายมา

                  ในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อละเอียด มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ

                  ตามธรรมชาติต่ํา  ดินบนมีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดาง

                  ประมาณ 5.0 -5.5 และดินลางมีปฏิกิริยาเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดาง
                  ประมาณ 4.5-5.5  ชั้นถัดไปเปนชั้นหินพื้นภายใน 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ปญหาในการเพาะปลูก

                  คือ ดินตื้นถึงเศษหิน ที่รองรับดวยชั้นหินพื้นภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน พื้นที่ที่มี

                  ความลาดชันหนาดินจะงายตอการถูกชะลางพังทลาย  ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ําและอัตรา

                  รอยละความอิ่มตัวดวยเบสต่ํา การหยั่งลึกของรากในดินบนอยูในระดับงายและดินลางอยูในระดับยาก
                  ความยากงายในการเขตกรรมอยูในระดับงาย

                                  ประกอบดวยหนวยที่ดินตางๆ ดังนี้

                                  - หนวยที่ดินที่ 45 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 1,310 ไร
                  หรือรอยละ 0.33 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่  45B  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 15,948 ไร

                  หรือรอยละ 3.99 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                  - หนวยที่ดินที่ 45B(E2) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย และอยูในบริเวณ

                  ที่มีการสูญเสียดินอยูในระดับปานกลาง มีเนื้อที่ 246 ไร หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่  45Bb  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย และมีการทําคันนา
                  เพื่อปลูกขาว มีเนื้อที่ 281 ไร หรือรอยละ 0.07 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา









                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160