Page 154 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 154

108




                                  ประกอบดวยหนวยที่ดินตางๆ ดังนี้

                                  - หนวยที่ดินที่ 34B/50B สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 2,453 ไร

                  หรือรอยละ 0.61 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                  - หนวยที่ดินที่  34B/50B(E2) สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย  และอยูใน

                  บริเวณที่มีการสูญเสียดินอยูในระดับปานกลาง มีเนื้อที่ 856 ไร หรือรอยละ 0.21 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่  34C/50C  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด  มีเนื้อที่  3,854 ไร หรือ

                  รอยละ 0.96 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                  - หนวยที่ดินที่ 34C/50C(E2) สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด  และอยูในบริเวณที่

                  มีการสูญเสียดินอยูในระดับปานกลาง  มีเนื้อที่ 934 ไร หรือรอยละ 0.23 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่ 34C/50C(E3) สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด   และอยูในบริเวณที่
                  มีการสูญเสียดินอยูในระดับรุนแรงถึงรุนแรงมากที่สุด  มีเนื้อที่  54 ไร หรือรอยละ  0.01 ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่  34D/50D  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน) มีเนื้อที่  1,011 ไร หรือ

                  รอยละ 0.25 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                  - หนวยที่ดินที่ 34D/50D(E2) สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน และอยูในบริเวณที่มี

                  การสูญเสียดินอยูในระดับปานกลาง มีเนื้อที่ 2,810 ไร หรือรอยละ 0.70 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่ 34D/50D(E3) สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน  และอยูในบริเวณที่มี
                  การสูญเสียดินอยูในระดับรุนแรงถึงรุนแรงมากที่สุด  มีเนื้อที่ 94 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ลุมน้ํา

                  สาขา

                               5)  หนวยที่ดินที่  39  39b  39B  39Bb  39C  และหนวยที่ดินที่  39(E2)

                                  ดินรวนสีเทาที่เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ํา บริเวณที่ราบลุมระหวางเนินเขา

                  หรือหุบเขามักพบกอนหินปะปนอยูในเนื้อดินหรืออยูที่ผิวดิน เปนดินลึกมากมีการระบายน้ําดีปานกลาง

                  ถึงดี ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ดินบนมีปฏิกิริยาดินเปนกรด จัดมากถึงเปนกรดจัด มีคาความ
                  เปนกรดเปนดางประมาณ  5.0-5.5 และดินลางมีปฏิกิริยาเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด มีคาความ

                  เปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5 ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ํา   และอัตรารอยละความอิ่มตัว

                  ดวยเบสต่ํา การหยั่งลึกของรากในดินบนอยูในระดับงายและดินลางอยูในระดับงาย ความยากงาย

                  ในการเขตกรรมอยูในระดับงาย
                                  ประกอบดวยหนวยที่ดินตางๆ ดังนี้

                                  - หนวยที่ดินที่ 3 9 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่  5,120 ไร

                  หรือรอยละ 1.28 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา





                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159