Page 158 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 158

112




                                  - หนวยที่ดินที่ 53B(E2) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย และอยูในบริเวณ

                  ที่มีการสูญเสียดินอยูในระดับปานกลาง มีเนื้อที่ 470 ไร หรือรอยละ 0.12 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่ 53C มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 10,267 ไร หรือรอยละ
                  2.57 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                  - หนวยที่ดินที่  53C(E2) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด  และอยูในบริเวณที่ มี

                  การสูญเสียดินอยูในระดับปานกลาง มีเนื้อที่ 166 ไร หรือรอยละ 0.04 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                  - หนวยที่ดินที่  53C(E3) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด  และอยูในบริเวณที่ มี

                  การสูญเสียดินอยูในระดับรุนแรงถึงรุนแรงมากที่สุด  มีเนื้อที่ 1,195 ไร หรือรอยละ 0.30 ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา

                                9) หนวยที่ดินที่ 62

                                 หนวยที่ดินนี้ประกอบดวยภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากวา 35 เปอรเซ็นต
                  พื้นที่บริเวณนี้ยังไมมีการสํารวจและจําแนกดิน เนื่องจากยากตอการจัดการดูแลที่ดินในพื้นที่

                  ทําการเกษตรควรสงวนไวหรือฟนฟูเปนปาตามธรรมชาติ   เพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม และพื้นที่

                  ปาตนน้ํา โดยพื้นที่สวนใหญถูกปกคลุมดวยปาไม และมีบางบริเวณถูกเปดพื้นที่เพื่อทําไรเลื่อนลอย  มี
                  เนื้อที่ 80,960 ไร หรือรอยละ 20.24 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา


                                หนวยเบ็ดเตล็ด มีดังนี้

                               1)  พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (AQ) มีเนื้อที่ 249 ไร หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                               2)  ที่ดินดัดแปลง (ML) มีเนื้อที่ 47 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                               3)  บอขุด บอยืมดิน (P) มีเนื้อที่ 247 ไร หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                               4)  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง  (U)  มีเนื้อที่ 13,270 ไร หรือรอยละ 3.33 ของพื้นที่ลุมน้ํา

                  สาขา
                                5)  ถนน (U405) มีเนื้อที่ 1,186 ไร หรือรอยละ 0.30 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                               6) พื้นที่น้ํา  (W) มีเนื้อที่ 1,839 ไร หรือรอยละ 0.46 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา


                    8.6   การวิเคราะหเพื่อจัดลําดับความสําคัญในการฟนฟูลุมน้ํา

                     การพิจารณาเพื่อจัดลําดับความสําคัญในการฟนฟูลุมน้ํา พิจารณาจากผลการวิเคราะหสภาพ

                  ทรัพยากรดินและระดับการชะลางพังทลายของดิน เพื่อนํามาเปนตัวชี้วัดความสําคัญในการเขาไป
                  ฟนฟูเพื่อแกปญหาของทรัพยากรดิน และใชเปนขอมูลสนับสนุนการวางแผนปองกันรักษาและฟนฟู

                  ลุมน้ํา เพื่อใหมีการใชทรัพยากรดินใหเกิดประโยชนอยางยั่งยืนตอไป ซึ่งสามารถจัดลําดับความสําคัญ

                  ในการฟนฟูลุมน้ํา โดยแบงตามระดับปญหาที่เกิดขึ้นไดดังนี้






                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163