Page 22 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน : กรณีศึกษาการปลูกข้าวโพดหวาน บ้านท่าพยอม ตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
P. 22

10


                         แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 หมู่บ้าน ดังนี้
                                หมู่ที่  1 ชื่อบ้านหนองไผ่

                                หมู่ที่  2 ชื่อบ้านหนองปากดง
                                หมู่ที่  3 ชื่อบ้านหินแด้น
                                หมู่ที่  4 ชื่อบ้านท่าพยอม
                                หมู่ที่  5 ชื่อบ้านหนองไผ่เดิม

                                หมู่ที่  6 ชื่อบ้านสี่แยก

                  2.2 สภาพภูมิอากาศ
                         พื้นที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม 2 ทิศทาง คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุม

                  ตะวันออกเฉียงเหนือก่อให้เกิดฤดูฝนตั้งแต่ต้นเดือนพฤษภาคมถึงปลายเดือนตุลาคม ฝนตกชุกในเดือน
                  มิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ อากาศหนาวเย็น
                  ฝนตกน้อยและมีอุณหภูมิต่ าสุดของปี ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงกลางเดือนพฤษภาคม ความชื้นใน
                  อากาศต่ า

                         จากสถิติข้อมูลภูมิอากาศ สถานีตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา จังหวัดกาญจนบุรี สามารถ
                  สรุปได้ดังนี้ (ตารางที่ 2.1)

                         2.2.1  อุณหภูมิ อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 28.85  องศาเซลเซียสอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.77 องศา

                  เซลเซียส ในเดือนเมษายน อุณหภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 26.12 องศาเซลเซียสในเดือนธันวาคม

                         2.2.2 ความชื้นสัมพัทธ์ ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปีร้อยละ 69.10 ความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดเฉลี่ย
                  ร้อยละ 78.53 ในเดือนตุลาคม ความชื้นสัมพัทธ์ต่ าสุดเฉลี่ยร้อยละ 61.63 ในเดือนกุมภาพันธ์

                         2.2.3 ปริมาณน้ าฝน ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยรวมตลอดปี 1,071.16 มิลลิเมตร จ านวนวันฝนตกเฉลี่ย
                  รวมตลอดปี 107.79 วัน ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยสูงสุด 235.25 มิลลิเมตร ในเดือนกันยายน โดยมีจ านวนวันฝน
                  ตกเฉลี่ยสูงสุด 16.21  วัน ในเดือนสิงหาคม ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยต่ าสุด 3.78  มิลลิเมตร ในเดือนมกราคม
                  โดยมีจ านวนวันฝนตกเฉลี่ย 0.84 วัน


                         2.2.4 ความสมดุลน้ า สภาพความสมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร จากความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ
                  น้ าฝนที่แสดงถึงจ านวนน้ าที่ได้รับเข้ามา และค่าศักย์การคายระเหยน้ าที่แสดงถึงปริมาณน้ าที่สูญเสียไป
                  ถ้าค่าของปริมาณน้ าฝนเท่ากับค่าศักย์การคายระเหยน้ า ก็จะไม่เกิดช่วงการขาดแคลนน้ าและไม่มีน้ ามาก

                  เกินพอ แต่ถ้าปริมาณน้ าฝนสูงเกินค่าศักยภาพการคายระเหยน้ าก็จะเกิดการขาดแคลนน้ า จากตารางที่ 2.1
                  จะเห็นว่าเดือนเมษายน เป็นเดือนแรกที่ค่าปริมาณน้ าฝนสูงกว่าค่าศักย์การคายระเหยน้ า แต่ในเดือนนี้ยังไม่
                  มีน้ ามากเกินพอ เพราะปริมาณน้ าฝนที่เหลือเริ่มเข้าไปสะสมอยู่ในดินที่แห้ง มาตั้งแต่เดือนก่อนๆ ปริมาณ
                  ความชื้นสะสมในดินจะมีจนถึง 100 มิลลิเมตร จึงจะท าให้ดินอิ่มตัว ดังนั้นช่วงที่มีการสะสมความชื้นในดิน

                  จึงเริ่มจากเดือนพฤษภาคมไปจนถึงสิ้นเดือนตุลาคม จะอยู่ในช่วงของน้ ามากเกินพอ ในเดือนตุลาคมถึง
                  พฤศจิกายน ปริมาณน้ าฝนจะน้อยกว่าค่าศักย์การคายระเหยน้ า แต่ในเดือนนี้จึงยังไม่เกิดการขาดน้ ารุนแรง
                  เพราะยังมีความชื้นสะสมในดินที่พืชสามารถน าไปใช้ได้อย่างเพียงพอ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือน
                  มีนาคม เป็นช่วงขาดแคลนน้ าโดยมีน้ าสะสมในดิน ช่วงเดือนมีนาคมถึงปลายเดือนเมษายนเป็นช่วงขาดน้ า
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27