Page 30 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 30

15





                  ปนนํ<าตาล บางพื<นที พบจุดประสีเทาและสีนํ<าตาลเข้มในดินชั<นล่าง ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปาน

                  กลาง  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง  สภาพการระบายนํ<าดีถึงดีปานกลาง (สํานักสํารวจดินและวาง

                  แผนการใช้ที ดิน, 2552)  นํ<าท่วมบางพื<นที ในบางปี ดังนั<นการใช้ประโยชน์ที เหมาะสมจึงควรทําการเกษตร
                  แบบผสมผสาน คือ มีการปลูกผัก พืชไร่ และไม้ผลควบคู่กันไป ทั<งนี<ขึ<นอยู่กับขนาดของที ดิน (กรมพัฒนา

                  ที ดิน, 2548ข)

                             19)   กลุ่มชุดดินที  40   มีเนื<อที   1,147,817 ไร่ หรือร้อยละ  22.61 ของเนื<อที จังหวัด

                  พบบริเวณพื<นที ดอนที มีสภาพพื<นที เป็นลูกคลื นจนถึงเนินเขาหรือเป็นพื<นที ภูเขา ความลาดเทอยู่ระหว่าง 2-5
                  เปอร์เซ็นต์ เป็นส่วนใหญ่ เป็นดินลึก การระบายนํ<าดี เนื<อดินเป็นดินร่วนหยาบ สีนํ<าตาล สีเหลืองหรือแดง

                  อาจพบจุดประสีต่าง ๆ ในดินชั<นล่าง มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ า และมีปัญหาเกี ยวกับการชะล้าง

                  พังทลายของดิน โดยเฉพาะบริเวณที มีความลาดชันสูง (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552)

                  เหมาะสําหรับระบบเกษตรผสมผสาน คือ มีการเลี<ยงสัตว์ควบคู่กับการปลูกหญ้าเลี<ยงสัตว์ และปลูกไม้โต
                  เร็ว (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ข)

                             20)   กลุ่มชุดดินที  41  มีเนื<อที  396,684 ไร่ หรือร้อยละ 7.81  ของเนื<อที จังหวัด พบบริเวณ

                  พื<นที ดอนที มีสภาพพื<นที ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื นลอนลาด  ความลาดเทอยู่ระหว่าง 2-12 เปอร์เซ็นต์
                  ลักษณะดินเป็นดินลึก การระบายนํ<าดีถึงดีปานกลาง เนื<อดินภายในความลึก 50-100 เซนติเมตร เป็นดิน

                  ทรายหรือดินทรายปนดินร่วน มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนปน

                  ทราย และดินร่วนเหนียวปนทราย ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง  ความอุดมสมบูรณ์ตาม
                  ธรรมชาติตํ า เนื<อดินบนเป็นทรายจัด พืชที ปลูกมีโอกาสขาดแคลนนํ<าได้ง่าย และบริเวณที มีความลาดชัน

                  สูงจะเกิดการชะล้างพังทลายได้มาก (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) กลุ่มชุดดินนี<มี

                  ศักยภาพเหมาะสมในการปลูกไม้ผล และไม้ยืนต้นบางชนิด เช่น มะม่วง ขนุน มะม่วงหิมพานต์ ไผ่ตง

                  ยูคาลิปตัส กระถินยักษ์ และกระถินเทพา ส่วนพืชไร่นั<นควรปลูกมันสําปะหลัง ถั วลิสง ถั วเขียว อ้อย
                  ละหุ่ง  งา  ปอแก้ว  ฝ้าย  และแตงโม  แต่ต้องปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วยการใช้ปุ๋ ยอินทรีย์

                  ร่วมกับปุ๋ ยเคมี อย่างไรก็ตามการใช้ที เหมาะสมคือเน้นการพัฒนาเป็นทุ่งหญ้าเลี<ยงสัตว์และปลูกไม้โตเร็ว

                  ควบคู่กับการปลูกพืชไร่และไม้ผลดังที ได้กล่าวแล้ว (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ข)
                             21)   กลุ่มชุดดินที  44  มีเนื<อที  33,265 ไร่ หรือร้อยละ 0.66 ของเนื<อที จังหวัด พบบริเวณ

                  พื<นที ดอนมีสภาพพื<นที เป็นลูกคลื นลอนลาดจนถึงเป็นเนินเขา  มีความลาดเทอยู่ระหว่าง  2-16

                  เปอร์เซ็นต์  สภาพการระบายนํ<าดีถึงค่อนข้างดีเกินไป  มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ า
                  และความสามารถในการอุ้มนํ<าตํ า ลักษณะเนื<อดินค่อนข้างเป็นทรายจัด  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึง

                  เป็นกลาง บริเวณที มีความลาดชันสูงอาจจะเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ (สํานักสํารวจดิน

                  และวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) จึงไม่ค่อยเหมาะสมในการปลูกพืชไร่ และไม้ผล ไม่เหมาะสมในการทํานา

                  แต่เหมาะในการพัฒนาเป็นทุ่งหญ้าเลี<ยงสัตว์และปลูกไม้โตเร็วบางชนิด (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ข)
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35