Page 28 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 28

13





                  ปนทรายหรือดินทรายปนดินร่วน ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ า

                  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) ความ

                  เหมาะสมของกลุ่มดินนี< คือ มีศักยภาพเหมาะสมในการทํานาในช่วงฤดูฝน ปลูกพืชไร่และพืชผัก ก่อน
                  และหลังการปลูกข้าว  ควรดําเนินการในแบบไร่นาสวนผสม  โดยแบ่งพื<นที เพื อการทํานา  ปลูกพืชไร่

                  ไม้ผลและพืชผัก แหล่งนํ<า และพื<นที เลี<ยงสัตว์ สําหรับอัตราส่วนของการใช้ประโยชน์ที ดินแต่ละประเภท

                  ขึ<นอยู่กับสภาพพื<นที  ทักษะของเกษตรกรและความต้องการผลิตผลของตลาดภายในและภายนอกท้องถิ น

                  (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)
                             12)   กลุ่มชุดดินที  24   มีเนื<อที   37,862 ไร่ หรือร้อยละ 0.75  ของเนื<อที จังหวัด  พบใน

                  สภาพพื<นที ที ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ความลาดเทอยู่ระหว่าง 1-3 เปอร์เซ็นต์ มีนํ<าท่วมขังใน

                  ฤดูฝนเป็นบางช่วง เป็นดินลึกมากที มีการระบายนํ<าค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง เนื<อดินเป็นดินทรายปน

                  ดินร่วนหรือดินทราย ในดินชั<นล่างบางแห่งจะพบชั<นที มีการสะสมอินทรียวัตถุเป็นชั<นบาง ๆ  ความ
                  อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ ามาก ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย ดินจะแห้งจัดในช่วงฤดูแล้ง

                  จัดเป็นกลุ่มชุดดินที ไม่ค่อยเหมาะสมสําหรับปลูกพืช เนื องจากดินเป็นทรายจัด และมีความสามารถใน

                  การอุ้มนํ<าตํ า พืชจึงมักแสดงอาการขาดนํ<าในช่วงฝนทิ<งช่วง (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน,
                  2552) แต่มีศักยภาพเหมาะสม พอที จะพัฒนาเป็นทุ่งหญ้าเลี<ยงสัตว์ (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)

                              13)   กลุ่มชุดดินที  28   มีเนื<อที  2,023  ไร่ หรือร้อยละ 0.04  ของเนื<อที จังหวัด  พบบริเวณ

                  ที ดอนที อยู่ใกล้กับเขาหินปูนหรือหินภูเขาไฟ มีสภาพพื<นที ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดเท
                  ระหว่าง 2-8 เปอร์เซ็นต์ สภาพการระบายนํ<าดีปานกลางถึงดี เนื<อดินเป็นพวกดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด

                  หน้าดินแตกระแหงเป็นร่องลึกในฤดูแล้ง ดินเป็นสีดํา สีเทาเข้มหรือสีนํ<าตาล ความอุดมสมบูรณ์ตาม

                  ธรรมชาติอยู่ในระดับปานกลางถึงสูง ปฏิกิริยาดินส่วนใหญ่จะเป็นกลางถึงเป็นด่างจัด ปัญหาที สําคัญ ได้แก่
                  เนื<อดินเหนียวจัด จึงควรไถพรวนในช่วงที ดินมีความชื<นที เหมาะสม มิฉะนั<นจะทําให้ดินแน่นทึบ ในฤดูฝน

                  จะมีนํ<าแช่ขังได้ง่าย ทําให้พืชชะงักการเจริญเติบโต (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552)

                  แต่พบว่ามีความเหมาะสมในการปลูกพืชไร่ ไม้ผลและพืชผัก แต่การใช้ประโยชน์นั<นควรเน้นการเกษตร

                  แบบผสมผสาน (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ข)
                             14)   กลุ่มชุดดินที  33   มีเนื<อที  121,246  ไร่ หรือร้อยละ 2.39  ของเนื<อที จังหวัด  พบบน

                  สันดินริมนํ<าเก่าเนินตะกอนรูปพัด หรือที ราบตะกอนนํ<าพา บริเวณที ดอนที มีสภาพพื<นที ค่อนข้างราบเรียบ

                  ถึงเป็นลูกคลื นลอนลาด  ความลาดเทอยู่ระหว่าง 1-3 เปอร์เซ็นต์ การระบายนํ<าดีถึงดีปานกลาง  ลักษณะ
                  เนื<อดินเป็นดินทรายแป้ งหรือดินร่วนละเอียด สีดินเป็นสีนํ<าตาลหรือนํ<าตาลปนแดง บางพื<นที พบจุดประสี

                  เทาและนํ<าตาลปนแดงในดินชั<นล่าง นอกจากนี<ยังพบเกล็ดไมกา และก้อนปูนปะปนอยู่ด้วย ปฏิกิริยาดิน

                  ของดินชั<นบนเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย  ส่วนดินชั<นล่างเป็นกลางถึงเป็นด่างจัด  ความอุดมสมบูรณ์อยู่

                  ตามธรรมชาติในระดับปานกลางเป็นส่วนใหญ่ (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552)  ศักยภาพ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33