Page 25 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 25

10






                  2.4    ทรัพยากรธรรมชาติ

                        2.4.1  ทรัพยากรดิน จากฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS  database) ของกลุ่มชุดดินใน
                  จังหวัดสุรินทร์ ขนาดมาตราส่วน 1:25,000 (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2549)  พบว่า

                  ทรัพยากรดินในจังหวัดสุรินทร์ มีทั<งหมด 26 กลุ่มชุดดิน มีเนื<อที ประมาณ 4,610,429 ไร่หรือร้อยละ

                  90.80 ของเนื<อที จังหวัด และพื<นที เบ็ดเตล็ด มีเนื<อที ประมาณ 467,106 ไร่หรือร้อยละ 9.20 ของเนื<อที
                  จังหวัด มีรายละเอียดดังนี< (ภาพที  4)

                             1)    กลุ่มชุดดินที  1  มีเนื<อที  11,078  ไร่ หรือร้อยละ 0.22  ของเนื<อที จังหวัด พบใน

                  สภาพพื<นที ราบเรียบถึงราบลุ่ม มีความลาดเทน้อยกว่า  1  เปอร์เซ็นต์  ลักษณะเนื<อดินค่อนข้างเป็น
                  ดินเหนียว  มีการระบายนํ<าค่อนข้างเลวถึงเลว  ในช่วงฤดูฝนจะมีนํ<าท่วมขังแช่อยู่ระหว่าง  4-5  เดือน

                  ปฏิกิริยาดินส่วนใหญ่เป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นด่างปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ

                  ปานกลางถึงสูง ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที ดิน ได้แก่ การไถพรวนลําบาก เนื องจากเป็นดินเหนียวจัด

                  ต้องไถพรวนในช่วงระยะเวลาที ดินมีความชื<นที เหมาะสม (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน,
                  2552)  มีศักยภาพเหมาะสมในการทํานาดําและนาหว่าน  มีข้อจํากัดในการปลูกข้าวน้อยหรือไม่มีเลย

                  ผลผลิตข้าวค่อนข้างสูงเมื อเปรียบเทียบกับดินนาทั วไปในประเทศ อย่างไรก็ตามกลุ่มชุดดินนี<สามารถ

                  ปลูกพืชไร่ และพืชผักได้ในช่วงฤดูแล้ง หรือหลังการเก็บเกี ยวข้าวแล้ว ถ้ามีนํ<าชลประทานเข้าถึงหรือมี

                  แหล่งนํ<าธรรมชาติ (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)
                             2)   กลุ่มชุดดินที  4  มีเนื<อที  7,381 ไร่ หรือร้อยละ 0.15  ของเนื<อที จังหวัด  พบในบริเวณที

                  ราบลุ่มหรือที ราบเรียบ ความลาดเทน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นส่วนใหญ่  มีนํ<าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นดิน

                  ลึกที มีการระบายนํ<าเลวหรือค่อนข้างเลว  มีเนื<อดินเป็นพวกดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หน้าดินอาจ
                  แตกระแหงเป็นร่องในฤดูแล้ง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึง

                  เป็นกรดเล็กน้อย กลุ่มชุดดินนี<ไม่ค่อยมีปัญหาในการใช้ประโยชน์ที ดิน แต่ถ้าเป็นที ลุ่มมาก ๆ จะมีปัญหา

                  เรื องนํ<าท่วมในฤดูฝน (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใช้ที ดิน, 2552) เป็นกลุ่มชุดดินที มีศักยภาพ
                  เหมาะสมในการทํานาในช่วงฤดูฝน  และเหมาะสมในการปลูกพืชไร่และพืชผักหลายชนิดในช่วงฤดูแล้ง

                  (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)

                             3)   กลุ่มชุดดินที  6   มีเนื<อที   239 ไร่ พบบริเวณพื<นที ราบตะกอนนํ<าพา ความลาดเท
                  น้อยกว่า  0-2  เปอร์เซ็นต์ มีนํ<าขังเหนือผิวดินในฤดูฝน  3-5  เดือน  เป็นดินลึกที มีการระบายนํ<าเลวหรือ

                  ค่อนข้างเลว เนื<อดินเป็นพวกดินเหนียว มีเนื<อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียว ดินมีความอุดม

                  สมบูรณ์ตามธรรมชาติตํ าหรือค่อนข้างตํ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดจัดมาก (สํานักสํารวจดินและ
                  วางแผนการใช้ที ดิน, 2552) จึงมีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกข้าวในฤดูฝน ส่วนในฤดูแล้งใช้ปลูกพืชไร่

                  อายุสั<นหรือพืชผักได้  แต่ถ้าจะปลูกพืชไร่  ไม้ผลหรือพืชผักตลอดปี  ต้องมีการพัฒนาที ดิน  โดยการทํา

                  คันดิน และยกร่องปลูก (กรมพัฒนาที ดิน, 2548ก)
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30